Page 84 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 84

11-74 การวิจัยการบริหารการศึกษา

       โรบินสัน (Robinson. 1951 quoted in Merriam, Sharan B. 1998: 160–161) กำ�หนดข​ ั้นต​ อนใ​น​
การ​วิเคราะห์​แบบอ​ ุปนัย​ไว้ 5 ขั้น​ตอน ดังนี้

       1) 	เริ่มต​ ้น​การศ​ ึกษาด​ ้วย​การ​ตั้งส​ มมติฐาน​ชั่วคราว
       2) 	เก็บร​ วบรวม​ข้อมูลต​ าม​ประเด็น​ที่ต​ ั้งส​ มมติฐานช​ ั่วคราวไ​ว้
       2) 	ถ้า​ข้อมูล​ที่​ได้​ไม่​เป็น​ไป​ตาม​สมมติฐาน​ให้​ปรับปรุง​สมมติฐาน​ใหม่ แต่​ถ้า​ข้อมูล​เป็น​ไป​ตาม​
สมมติฐาน ให้เ​ก็บ​รวบรวมข​ ้อมูลต​ ่อ​ไปเ​พื่อน​ ำ�​มาท​ ดสอบ​สมมติฐาน
       4) 	พยายามค​ ้นหาข​ ้อมูลต​ ่อ​ไป กรณี​ที่​พบข​ ้อมูลท​ ี่ไ​ม่ต​ รง​กับส​ มมติฐานเ​พียง​กรณีเ​ดียวจ​ ะ​ต้อง​ปรับ​
สมมติฐาน​ให้​ครอบคลุมแ​ ละส​ ามารถ​อธิบายข​ ้อมูลไ​ด้​ทั้งหมด
       5) 	ดำ�เนินก​ ารห​ าข​ ้อมูลแ​ ละป​ รับปรุงส​ มมติฐานต​ ่อไ​ปจ​ นกว่าจ​ ะไ​ดข้​ ้อส​ รุปท​ ีส่​ ามารถอ​ ธิบายข​ ้อมูลไ​ด​้
ทั้งหมด
       จาก​หลัก​การ​ข้าง​ต้น กรณี​ที่​นัก​วิจัย​ทำ�​วิจัย​เรื่อง “การ​วิเคราะห์​สาเหตุ​ของ​การ​ออก​กลาง​คัน​ของ​
นักเรียน​มัธยมศึกษา ใน​เขตอ​ ำ�เภอเ​ลาขวัญ จังหวัด​กาญจนบุรี” สามารถ​ยกต​ ัวอย่างก​ ารนำ�​หลักก​ าร​วิเคราะห์​
แบบอ​ ุปนัยม​ า​ใช้ใ​ห้​เป็น​รูปธ​ รรมไ​ด้ ดังนี้
       ขั้น​ที่ 1	เริ่ม​ต้นก​ ารศ​ ึกษาด​ ้วย​การต​ ั้ง​สมมติฐานช​ ั่วคราว
       นกั ว​ จิ ัยต​ ัง้ ส​ มมติฐานช​ ั่วคราวจ​ ากก​ ารท​ บทวนว​ รรณกรรมแ​ ละป​ ระสบการณข์​ องน​ กั ว​ ิจยั จากง​ านว​ ิจัย​
เรื่องด​ ังก​ ล่าว นักว​ ิจัย​ทบทวนว​ รรณกรรมแ​ ล้ว​พบว​ ่าส​ าเหตุห​ ลัก​ที่น​ ักเรียนอ​ อกก​ ลางค​ ันม​ า​จากค​ วามย​ ากจน
เรียนไ​มไ่​หว สุขภาพไ​มด่​ ี และต​ ้องอ​ อกไ​ปช​ ่วยผ​ ูป้​ กครองป​ ระกอบอ​ าชีพ ดังน​ ั้น ผูว้​ ิจัยจ​ ึงต​ ั้งส​ มมติฐานช​ ั่วคราว​
ของก​ ารอ​ อกก​ ลางค​ ันต​ ามป​ ระเด็น​ดังก​ ล่าว
       ข้ัน​ที่ 2	เก็บร​ วบรวมข​ ้อมูลต​ าม​ประเด็นท​ ี่ต​ ั้ง​สมมติฐาน​ชั่วคราวไ​ว้
       จาก​สมมติฐาน​ชั่วคราว​ใน​ขั้น​ที่ 1 ผู้​วิจัย​เริ่ม​เก็บ​รวบรวม​ข้อมูล​ตาม​สมมติฐาน​นั้น โดย​เก็บ​จาก​ผู้​มี​
ส่วน​เกี่ยวข้องท​ ั้งหมด คือ ตัว​นักเรียน​ที่​ออก​กลางค​ ัน เพื่อน ๆ ของน​ ักเรียนท​ ี่​ออกก​ ลางค​ ัน ครูป​ ระจำ�​ชั้น ครู​
ผู้​สอน ผู้​ปกครอง และญ​ าติ​ของ​นักเรียน​ที่อ​ อกก​ ลางค​ ัน
       ขนั้ ​ที่ 3	ถ้า​ข้อมูล​ที่​ได้​ไม่​เป็น​ไป​ตาม​สมมติฐาน​ให้​ปรับปรุง​สมมติฐาน​ใหม่ แต่​ถ้า​ข้อมูล​เป็น​ไป​ตาม​
สมมติฐาน ให้​เก็บร​ วบรวม​ข้อมูล​ต่อไ​ป​เพื่อน​ ำ�​มาท​ ดสอบส​ มมติฐาน
       เมื่อน​ ักว​ ิจัยเ​ก็บ​รวบรวมข​ ้อมูลต​ าม​ขั้น​ตอนท​ ี่ 2 แล้วพ​ บข​ ้อมูลท​ ี่​ตรง​ตาม​สมมติฐานใ​ห้​คง​สมมติฐาน​
นั้นไ​ว้ เช่น พบว​ ่า มีน​ ักเรียน​ที่อ​ อกก​ ลางค​ ันเ​พราะค​ วามย​ ากจน เรียนไ​ม่ไ​หว สุขภาพไ​ม่ด​ ี และต​ ้องอ​ อกไ​ปช​ ่วย​
ผู้​ปกครอง​ประกอบ​อาชีพจริง แต่​พบ​ข้อมูล​เพิ่ม​เติม​ว่า มี​เด็ก​นักเรียน​ออก​กลาง​คัน​เพราะ​ตั้ง​ครรภ์​และ​ออก​
ไป​แต่งงาน​อีก​จำ�นวน​หนึ่ง​ด้วย ดัง​นั้น นัก​วิจัย​จึง​ปรับ​สมมติฐาน​เรื่อง​การ​ตั้ง​ครรภ์ และ​ออก​ไป​แต่งงาน​เป็น​
สมมติฐานเ​พิ่มข​ ึ้น​ด้วย
       ขัน้ ​ท่ี 4	พยายาม​ค้นหา​ข้อมูล​ต่อ​ไป กรณี​ที่​พบ​ข้อมูล​ที่​ไม่​ตรง​กับ​สมมติฐาน​เพียง​กรณี​เดียว​จะ​ต้อง​
ปรับ​สมมติฐานใ​ห้​ครอบคลุม​และส​ ามารถ​อธิบาย​ข้อมูลไ​ด้​ทั้งหมด
       นักว​ ิจัยย​ ังค​ งห​ าข​ ้อมูลต​ ่อไ​ป ตามส​ มมติฐานท​ ี่ป​ รับแ​ ล้ว ซึ่งต​ ่อม​ าพ​ บว​ ่าม​ ีเ​ด็กน​ ักเรียนท​ ี่อ​ อกก​ ลางค​ ัน​
เพราะท​ นค​ วามก​ ดดันท​ างส​ ังคมไ​มไ่​ด้ เนื่องจากพ​ ่อแ​ มข่​ องเ​ด็กด​ ังก​ ล่าวป​ ่วยเ​ป็นโ​รคเ​อดส์ ทำ�ให้เ​พื่อนน​ ักเรียน​
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89