Page 96 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 96
11-86 การวิจัยการบริหารการศึกษา
จากต ัวอย่างการท ำ�ดัชนีข้างต้น จะเห็นว ่าน ักว ิจัยให้ดัชนีแยกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
1) สภาพและป ัญหาการจ ัดการเรียนก ารสอนในกลุ่มสาระก ารเรียนรู้ศ ิลปะ
2) แนวทางการแก้ป ัญหาการจัดการเรียนการสอนก ลุ่มส าระการเรียนร ู้ศ ิลปะ
จากตัวอย่างข้างต้น นักศึกษาก็สามารถทำ�ดัชนีของข้อมูลได้ โดยนักศึกษาเริ่มจากการอ่าน
ข้อมูลให้เข้าใจก่อน แล้วจึงกำ�หนดดัชนีที่เป็นการให้ความหมายของข้อมูลนั้น ๆ ลงไป ดัชนีบางตัวมีความ
หมายค รอบคลมุ ด ชั นยี อ่ ยอ กี ห ลายต วั และด ชั นยี อ่ ยแ ตล่ ะต วั ค รอบคลมุ ข อ้ ความอ กี ห ลายข อ้ ความห รอื ห ลาย
บรรทัด ซึ่งน ักวิจัยสามารถน ำ�ดัชนีจากบ ัญชีด ัชนีที่สร้างไว้ม าใช้ได้ในขั้นต อนนี้
2.2.6 การจ ดั ท �ำ ขอ้ ส รปุ ช ว่ั คราว (memoing) หลังจ ากท ีน่ ักว ิจัยท ำ�ดัชนขี ้อมูลด ังต ัวอย่างในข ้อ
2.2.5 แล้ว ขั้นต อนต ่อม าก ็คือการทำ�ข้อสรุปช ั่วคราว ซึ่งข ั้นตอนน ี้ก็ค ือก ารนำ�ดัชนีต ่าง ๆ มาจ ัดร ะบบค วาม
สัมพันธ์และสังเคราะห์ร่วมกับแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องแล้วนำ�มาเขียนเป็นข้อความ โดยข้อความดังกล่าว
อาจเขียนสั้น ๆ เพียงประโยคเดียวหรือยาวเป็นย ่อหน้าก ็ได้
การทำ�ข้อสรุปชั่วคราวควรมีข้อมูลในเรื่องนั้น ๆ มากพอสมควรจนเกิดแนวคิดเชื่อมโยง
ดัชนีต ่าง ๆ ได้ และข้อสรุปชั่วคราวน ี้จ ะถูกทดสอบด้วยข้อมูลที่ได้เพิ่มเข้ามา กรณีท ี่ม ีข ้อมูลยืนยัน ข้อส รุป
ชั่วคราวด ังก ล่าวก ็จะพัฒนาเป็นข้อสรุปของการวิจัยต ่อไป แต่ถ ้าได้ข้อมูลที่แตกต่างไป ข้อสรุปชั่วคราวก ็จ ะ
ถูกปรับปรุงให้สามารถอ ธิบายได้ต รงก ับค วามเป็นจ ริงมากที่สุด
โดยสรุปแล้ว การทำ�ข้อสรุปชั่วคราวก็คือ การลองเขียนประโยค (statement) ซึ่งนักวิจัย
คาดว่าเป็นล ักษณะห รือความเชื่อมโยงของข้อมูล (สุภางค์ จันทวาน ิช. 2543: 49) ซึ่งในท ี่น ี้ข อเสนอต ัวอย่าง
ของข้อส รุปชั่วคราวที่เกิดจากก ารทำ�ดัชนีข ้อมูลการสนทนากลุ่มค รูศิลปะ ในงานว ิจัยเรื่อง สภาพป ัญหาแ ละ
แนวทางแ กป้ ัญหาก ารจ ดั การเรียนก ารส อนท ีส่ ่งผ ลต อ่ ก ารพ ัฒนาค ุณภาพผ เู้รียนในร ะดบั ก ารศ ึกษาข ั้นพ ื้นฐ าน
โดยน ำ�เสนอให้เห็นทั้งแบบท ี่เป็นการสร้างข ้อสรุปช ั่วคราวในร ูปข ้อความสั้น ๆ และการสร้างข้อส รุปชั่วคราว
แบบความเรียง ดังนี้
2.2.6.1 การส รา้ งข อ้ ส รปุ ช วั่ คราวในร ปู ข อ้ ความส น้ั ๆ จากก ารส นทนาก ลุม่ ก บั ค รผู สู้ อน
กลุ่มส าระการเรียนร ู้ศ ิลปะ สามารถส ร้างข ้อส รุปช ั่วคราวเกี่ยวกับปัญหาข องครู ได้ด ังนี้
1) ครูศลิ ปะม ไี ม่เพียงพอท ำ�ให้ต้องใช้ค รทู ่ีจบไมต่ รงเอกมาส อนแ ทน
2) ครศู ลิ ปะม ภี าระง านม าก
3) ครศู ิลปะมคี วามชำ�นาญไม่ค รอบคลมุ แขนงของศ ลิ ปะ
4) ครศู ลิ ปะขาดข วญั ก�ำ ลังใจในก ารท ำ�งาน
5) ครศู ิลปะบางส ว่ นขาดประสทิ ธภิ าพ
6) ผู้บริหาร เพ่ือนครูและผู้ปกครองไม่ให้ความสำ�คัญกับกลุ่มสาระการเรียนรู้
ศลิ ปะ
7) ครศู ิลปะไมค่ อ่ ยไดร้ บั การพ ฒั นา
2.2.6.2 การส รา้ งข อ้ ส รปุ ช วั่ คราวแบบค วามเรยี ง เป็นการนำ�ข้อส รุปแ บบข ้อความส ั้น ๆ
มาเรียบเรียงเขียนในร ูปข องร ายงานก ารว ิจัย แต่จ ะท ำ�ข้อส รุปแ บบค วามเรียงเมื่อน ักว ิจัยม ขี ้อมูลม ากเพียงพ อ