Page 99 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 99
การว ิเคราะห์และก ารแ ปลผลข ้อมูล 11-89
ตัวอย่างข ้างต ้น จะเห็นว ่าการส ร้างข ้อส รุปช ั่วคราวแ บบค วามเรียง เป็นการพ ัฒนาข ึ้นม าจ ากก ารส ร้าง
ขอ้ ส รปุ ช ัว่ คราวแ บบข อ้ ความส ัน้ ๆ โดยน กั ว จิ ยั ส ามารถเพิม่ ร ายล ะเอยี ดข องเรือ่ งร าวล งไปไดม้ ากข ึน้ ท�ำ ใหอ้ า่ น
แล้วเห็นภ าพพจน์ได้ด ีข ึ้น ข้อส รุปช ั่วคราวเช่นน ี้เมื่อถ ูกท ดสอบด ้วยข ้อมูลท ี่เข้าม าใหม่อ ีกร ะยะห นึ่งก ็ส ามารถ
นำ�ไปเขียนเป็นข ้อส รุปก ารว ิจัยได้ โดยน ักว ิจัยน ำ�มาเรียบเรียงแ ละเพิ่มเติมข ้อความท ีช่ ่วยย ืนยันข ้อส รุปเข้าไป
เช่น อธิบายเหตุผล หรือย กค ำ�พูดข องผู้ให้ข ้อมูลบ างประโยคมาป ระกอบการนำ�เสนอ เป็นต้น ดังน ั้น ข้อส รุป
ชั่วคราวที่เขียนไว้อย่างร ัดกุมและผ ่านก ารท ดสอบด้วยข ้อมูลท ี่เข้าม าครบถ้วนร อบด ้านแล้วก ็ส ามารถใช้เป็น
ข้อสรุปงานว ิจัยได้ต ่อไป
อย่างไรก็ตามนักวิจัยไม่จำ�เป็นต้องสร้างข้อสรุปชั่วคราวขึ้นมาทั้งสองแบบ ทั้งนี้แล้วแต่ความถนัด
หรือความชำ�นาญของน ักว ิจัยแต่ละคน โดยนักวิจัยอาจสร้างข ้อสรุปชั่วคราวแ บบข้อความส ั้น ๆ อย่างเดียว
แล้วน ำ�มาสร้างบทสรุปและเขียนเป็นรายงานการว ิจัยในครั้งสุดท้ายก ็ได้ หรือบางท ่านอ าจนำ�ดัชนีจ ากบ ันทึก
ภาคสนามมาเขียนเป็นข้อสรุปชั่วคราวแบบความเรียง หลังจากนั้นจึงพัฒนาขึ้นมาเป็นบทสรุปและรายงาน
การวิจัยต ่อไป
ในข ั้นข องก ารจ ัดท ำ�ข้อส รุปช ั่วคราวน ี้ มีส ิ่งห นึ่งท ี่น ักว ิจัยจ ะต ้องก ระทำ�ไปพ ร้อม ๆ กัน คือ การก ำ�จัด
ข้อมูล (data reduction) เพราะเมื่อวิเคราะห์ข้อมูลมาถึงขั้นตอนนี้แล้วนักวิจัยจะเห็นความสัมพันธ์และ
โครงสรา้ งข องด ชั นี ท�ำ ใหเ้ ห็นแ นวโน้มว ่าง านว จิ ยั จ ะเดินไปท างใด และก ารเก็บข ้อมลู ต ่อไปค วรม ุ่งไปท ีป่ ระเด็น
ใด ในขั้นน ี้เองที่น ักวิจัยจะพ บว ่าข้อมูลบ างอย่างไม่จำ�เป็นหรือไม่ได้ใช้ในง านวิจัยซึ่งน ักวิจัยควรกำ�จัดข้อมูล
ดังกล่าวออกไปเพื่อล ดข นาดข องข้อมูลลง
2.3 การสร้างบทสรุป (conclusion) หลังจากการทำ�ข้อสรุปชั่วคราวและข้อสรุปดังกล่าวได้รับการ
ตรวจส อบย นื ยนั จ ากข อ้ มลู ห ลาย ๆ ดา้ นจ นเชือ่ ม ัน่ ไดว้ า่ ม คี วามน า่ เชือ่ ถ อื เพยี งพ อ นกั ว จิ ยั จ ะน �ำ ขอ้ ส รปุ ช ัว่ คราว
ที่ประกอบด้วยดัชนีย่อย ๆ จำ�นวนมากมาสร้างเป็นบทสรุป ในขั้นตอนนี้นักวิจัยจะต้องบูรณาการข้อมูลที่
คัดกรองออกมาเป็นดัชนีและข้อสรุปชั่วคราวต่าง ๆ เข้ากับหลักการแนวคิดทฤษฎี ด้วยวิจารณญาณของ
นักว ิจัยเพื่อส ร้างบ ทส รุปอ อกมา
บทสรุปที่ได้จะมีคุณภาพเพียงใดนั้นขึ้นกับองค์ประกอบอย่างน้อยสองประการ คือ 1) คุณภาพ
ของข้อมูล โดยข้อมูลมีความครบถ้วนสมบูรณ์เป็นระบบและกระบวนการคัดกรองข้อมูลถูกต้องเหมาะสม
2) คุณภาพข องนักว ิจัย ได้แก่ ความเป็นสหวิทยาการในต นเอง มีค วามล ะเอียดรอบคอบ รู้และเชี่ยวชาญใน
ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ มีวิจารณญาณที่เหมาะสม เป็นธรรม และมีความคิดสร้างสรรค์ รวมทั้งมีเวลา
เพียงพ อในก ารส ร้างบทสรุปอย่างป ระณีต
การส ร้างบ ทส รุปน ั้น เริ่มจ ากก ารท ีน่ ักว ิจัยน ำ�ข้อส รุปย ่อยซ ึ่งป ระกอบด ้วยด ัชนตี ่าง ๆ มาป ะต ิดป ะต ่อ
เข้าด้วยกันเพื่อเชื่อมโยงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ ซึ่งชุดของความสัมพันธ์ที่สร้างขึ้น
จะเป็นส ิ่งที่ช่วยอ ธิบายให้เข้าใจป รากฏการณ์ห รือเรื่องราวที่ศึกษาได้ นักวิจัยอ าจเริ่มจากก ารนำ�ข้อสรุปย่อย
ชุดหนึ่งเป็นตัวตั้งแล้วพิจารณาว่ามีข้อสรุปย่อยใดบ้างที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับชุดแรก หลังจากนั้นก็ค่อย ๆ
ขยายค วามสัมพันธ์ออกไป จนครอบคลุมเรื่องร าวที่ศึกษาและต อบคำ�ถามก ารว ิจัยต ่าง ๆ ได้