Page 18 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 18

11-8 การวิจัยการบริหารการศึกษา

(statistics) สำ�หรับบ​ รรยาย​ลักษณะ​ของก​ ลุ่มต​ ัวอย่าง (sample) หรือ​ค่าพ​ ารามิเตอร์ (parameter) สำ�หรับ​
บรรยายล​ ักษณะข​ องป​ ระชากร (population) ใน​กรณที​ ีเ่​ป็นการว​ ิจัยจ​ ากป​ ระชากรท​ ีม่​ ขี​ นาดเ​ล็ก สถิติพ​ รรณนา​
ที่ใ​ช้ใ​นก​ ารป​ ระมวลผ​ ลข​ ้อมูลท​ ี่ส​ ำ�คัญไ​ด้แก่ การค​ ำ�นวณห​ าค​ ่าแ​ นวโ​น้มเ​ข้าส​ ู่ส​ ่วนก​ ลาง (เช่น ค่าเ​ฉลี่ย มัธยฐาน
ฐานนิยม) หาค​ ่าก​ ารกร​ ะจ​ าย (เช่น พิสัย ส่วน​เบี่ยง​เบน​มาตรฐาน ความแ​ ปรปรวน) หา​ค่าค​ วาม​เบ้ (skewness)
หาค​ ่า​ความ​โด่ง (kurtosis) หาต​ ำ�แหน่ง​ของ​ข้อมูล (เช่น ตำ�แหน่ง​เปอร์​เซ็นไ​ทล์ ค​วอไ​ทล์)

       3.3	 สถติ อ​ิ นมุ าน (inferential statistics) นักว​ ิจัยใ​ชส้​ ถิตปิ​ ระเภทน​ ีใ้​นก​ ารส​ รุปอ​ ้างอิงผ​ ลก​ ารว​ ิเคราะห​์
ข้อมูล​จาก​กลุ่ม​ตัวอย่าง​ไป​สู่​ประชากร สถิติ​อนุมาน​ที่​ใช้​กัน​ทั่วไป​ทุก​วัน​นี้​แบ่ง​ออก​เป็น 2 ประเภท​ใหญ่ ๆ
ได้แก่

            3.3.1	 สถิติ​พารา​เมตริก (parametric statistics) เป็น​สถิติ​วิเคราะห์​ที่​ใช้​ใน​การ​สรุป​อ้างอิง​ค่า​
สถิติ​ของ​กลุ่ม​ตัวอย่าง​ไป​ยัง​ค่า​พารามิเตอร์​ของ​ประชากร​โดย​มี​ข้อ​กำ�หนด​หรือ​ข้อ​ตกลง​เบื้อง​ต้น​เกี่ยว​กับ​
ค่า​พารามิเตอร์ หรือ​การ​แจกแจง​ของ​สถิติ​ทดสอบ (test statistics) เช่น t-test, z-test, F-test เป็นต้น
นอกจาก​นี้​กลุ่มต​ ัวอย่างท​ ี่​ศึกษา​ต้อง​ได้ม​ าแ​ บบ​สุ่ม (random sample) และข​ ้อมูล​ที่​จะ​นำ�​มา​วิเคราะห์ต​ ้องอ​ ยู​่
ในม​ าตราอ​ ันตรภาค หรือ​สูง​กว่า บทบาท​ของ​สถิติ​พารา​เมตริก​ที่​สำ�คัญ คือ การป​ ระมาณค​ ่า​พารามิเตอร์ และ​
การท​ ดสอบ​สมมติฐาน

            3.3.2	 สถติ น​ิ นั พ​ าราเ​มตรกิ หรอื ส​ ถติ ไ​ิ มม่ เ​ี งอ่ื นไขก​ ารแ​ จกแจง (nonparametric or distribution-
free statistics) เป็น​สถิติ​วิเคราะห์​ที่​ใช้​ใน​การ​สรุป​อ้างอิง​ที่​ไม่มี​การ​ระบุ​ค่า​พารามิเตอร์​ของ​ประชากร และ​ไม่​
จำ�เป็นต​ ้องม​ ีข​ ้อต​ กลงเ​บื้องต​ ้นเ​กี่ยวก​ ับล​ ักษณะก​ ารแ​ จกแจงข​ องป​ ระชากร เช่น ไคสแ​ ควร​ ์ เป็นต้น นอกจากน​ ี​้
กลุ่ม​ตัวอย่าง​ที่​ศึกษา​ไม่​ได้​มา​โดย​วิธี​การ​สุ่ม หรือ​เป็นก​ลุ่ม​ตัวอย่าง​ที่​ได้​มา​โดย​การ​สุ่ม แต่​การ​แจกแจง​ของ​
ประชากร​ไม่​เป็นการ​แจกแจง​ปกติ หรือ​กลุ่ม​ตัวอย่าง​มี​ขนาด​เล็ก รวม​ทั้ง​ตัวแปร​ที่​จะ​นำ�​มา​วิเคราะห์​มี​ระดับ​
การว​ ัด​ในม​ าตราน​ าม​บัญญัติ หรือม​ าตรา​เรียงอ​ ันดับ

ประชากร (N)                     (1) sampling statistics     กลุ่มต​ ัวอย่าง (n)

                                (2) descriptive statistics

ค่าพ​ ารามิเตอร์                (3) inferential statistics                             ค่าส​ ถิติ

                         ภาพ​ท่ี 11.1 บทบาทข​ อง​สถิติศาสตรท์​ ่​ใี ช้​ในก​ าร​วจิ ยั

ทมี่ า: นงลักษณ์ วิรัชช​ ัย (2548: 3)
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23