Page 16 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 16

11-6 การวิจัยการบริหารการศึกษา

       การแ​ ปลค​ วามห​ มาย (interpretation) เป็นการน​ ำ�​ผลลัพธ์ท​ ีไ่​ดจ้​ ากก​ ารว​ ิเคราะห์​มาส​ รุปส​ าระเ​กี่ยวก​ ับ​
ความส​ ัมพันธร์​ ะหว่างต​ ัวแปรต​ ่าง ๆ ในก​ ารว​ ิจัย ใหไ้​ดผ้​ ลก​ ารว​ ิจัยต​ ามว​ ัตถุประสงค์ก​ ารว​ ิจัย แล้วอ​ ้างอิงผ​ ลก​ าร​
วิจัย ซึ่งท​ ำ�ได้ 2 แบบ แบบแ​ รก คือก​ ารอ​ ้างอิงผ​ ลก​ ารว​ ิเคราะหข์​ ้อมูลจ​ ากก​ ลุ่มต​ ัวอย่างไ​ปส​ ูป่​ ระชากรใ​นก​ ารว​ ิจัย
ซึ่ง​เป็นการอ​ ้างอิงใ​น​ความห​ มายแ​ คบ แบบ​ที่ส​ อง คือก​ าร​สรุป​อ้างอิง​ผล​การว​ ิเคราะห์ข​ ้อมูล​ไปส​ ู่​งาน​วิจัย​อื่น​ที​่
เกี่ยวข้องแ​ ละท​ ฤษฎี เป็นการอ​ ้างอิงใ​นค​ วามห​ มายกว​ ้างข​ ึ้น เพราะน​ ักว​ ิจัยต​ ้องน​ ำ�​การแ​ ปลค​ วามห​ มายแ​ บบแ​ รก​
มาเ​ปรียบ​เทียบ​ว่า​สอดคล้อง​หรือ​ขัดแ​ ย้งก​ ับผ​ ลง​ านว​ ิจัย​อื่น​ที่เ​กี่ยวข้อง​และ​ทฤษฎี​หรือไ​ม่ อย่างไร (Kerlinger
& Lee. 2000: 192 อ้างถ​ ึง​ใน นงลักษณ์ วิรัช​ชัย. 2553: 10-7)

2. 	ประเภทข​ อง​ขอ้ มลู

       ประเภท​ของ​ข้อมูล​จำ�แนก​ได้​หลาย​แบบ ขึ้น​กับ​เกณฑ์​ที่​ใช้​ใน​การ​แบ่ง ถ้า​ใช้​เกณฑ์​ต่าง​กัน​ก็​จะ​แบ่ง​
ประเภท​ของข​ ้อมูลไ​ด้​ต่าง​กันไ​ปด​ ้วย

       2.1 	แบง่ ต​ ามค​ ณุ สมบตั ข​ิ องค​ า่ ทว​่ี ดั ไ​ ด้ ข้อมูลแ​ บ่งไ​ดเ้​ป็น 2 ประเภท คือ ข้อมูลเ​ชิงค​ ุณภาพ และข​ ้อมูล​
เชิงป​ ริมาณ ดังนี้

            2.1.1 ขอ้ มูล​เชงิ ค​ ุณภาพ เป็น​ข้อมูล​ที่​วัดค​ ่าอ​ อก​มา​ในร​ ูป​ของป​ ระเภท หรือช​ นิด เช่น เพศ​ของ​
นักเรียน อาชีพข​ อง​ผู้ป​ กครอง ขนาด​ของโ​รงเรียน ระดับ​การศ​ ึกษาท​ ี่​เปิด​สอน

            2.1.2 ข้อมูล​เชิง​ปริมาณ เป็น​ข้อมูล​ที่​วัด​ค่า​ออก​มา​ใน​รูป​ของ​จำ�นวน หรือ​ขนาด โดย​สามารถ​
บอก​ปริมาณ​ความ​มาก​น้อย​ได้ เช่น คะแนน​สอบ​ระหว่าง​ภาค และ​ปลาย​ภาค คะแนน​สอบ O-net, A-net,
คะแนน NT รายไ​ด้​ของผ​ ู้ป​ กครอง เงินเ​ดือนค​ รู

            นอกจากน​ ีข้​ ้อมูลเ​ชิงป​ ริมาณย​ ังแ​ บ่งอ​ อกไ​ดเ้​ป็น 2 ลักษณะ คือ ข้อมูล​เชิงป​ ริมาณแ​ บบต​ ่อเ​นื่อง
และ​ข้อมูลเ​ชิง​ปริมาณ​แบบ​ต่อไ​ ม่เ​นื่อง

                 (1) 	 ข้อมูล​เชิง​ปริมาณ​แบบ​ต่อ​เนื่อง (continuous data) หมาย​ถึง ข้อมูล​ที่​มี​ค่า​เป็น​
จำ�นวนจริง ซึ่ง​สามารถบ​ อกห​ รือร​ ะบไุ​ดท้​ ุกค​ ่าใ​นช​ ่วงท​ ีก่​ ำ�หนดบ​ นเ​ส้นจ​ ำ�นวน เช่น จำ�นวน 0–1 ซึ่ง​มคี​ ่าม​ ากมาย​
นับไ​ม่ถ​ ้วน

                 (2)	 ข้อมลู ​เชิงป​ รมิ าณแ​ บบ​ไม่ต​ ่อเ​นอื่ ง (discrete data) หมายถ​ ึง​ข้อมูลท​ ี่เ​ป็นจ​ ำ�นวนเต็ม
หรือจ​ ำ�นวนนับ เช่น 0, 1, 2, 3, 4, ... , 100 ฯลฯ

       2.2 	แบ่ง​ตาม​แหล่ง​ที่มาของ​ข้อมูล แบ่ง​ข้อมูล​ได้​เป็น 2 ประเภท คือ  ข้อมูล​ปฐม​ภูมิ  และ​ข้อมูล​
ทุติย​ภูมิ ดังนี้

            2.2.1	 ข้อมูล​ปฐม​ภูมิ (primary data) หมาย​ถึง ข้อมูล​ที่​ผู้​ใช้​เป็น​ผู้​เก็บ​รวบรวม​ข้อมูล​ขึ้น​เอง
เช่น การ​เก็บข​ ้อมูลจ​ ากแ​ บบสอบถาม การท​ ดลองใ​น​ห้องท​ ดลอง การท​ ดสอบ​นักเรียน เป็นต้น

            2.2.2	 ข้อมูล​ทุติย​ภูมิ (secondary data) หมาย​ถึง ข้อมูล​ที่​ผู้​ใช้​นำ�​มา​จาก​หน่วย​งาน​อื่น หรือ​
ผู้​อื่น​ที่​ได้​ทำ�การ​เก็บ​รวบรวม​แล้ว​ใน​อดีต เช่น รายงาน​ประจำ�​ปี​ของ​โรงเรียน ข้อมูล​ท้อง​ถิ่น​ซึ่ง​ชุมชน​ได้​เก็บ​
รวบรวมไ​ ว้
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21