Page 17 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 17

การ​วิเคราะห์​และ​การ​แปลผ​ ลข​ ้อมูล 11-7

       2.3	 แบง่ ต​ ามม​ าตราก​ ารว​ ดั แบ่งข​ ้อมูลไ​ด้เ​ป็น 4 ประเภท คือ ข้อมูลท​ ี่ว​ ัดใ​นม​ าตราน​ ามบ​ ัญญัติ ข้อมูล​
ที่​วัดใ​นม​ าตราเ​รียงอ​ ันดับ ข้อมูลท​ ี่ว​ ัด​ในม​ าตรา​อันตรภาค และข​ ้อมูล​ที่ว​ ัด​ในม​ าตราอ​ ัตราส่วน ดังนี้

            2.3.1	 ข้อมูลท​ ี่ว​ ดั ใ​น​มาตรา​นามบ​ ัญญัติ (nominal scale) หรือม​ าตรา​จดั ​ประเภท (categorical
scale) เป็นข​ ้อมูลท​ ี่ว​ ัดอ​ อกม​ าเ​ป็นกล​ ุ่ม เป็นพ​ วก ข้อมูลท​ ี่ม​ ีค​ ุณสมบัติเ​หมือนก​ ันจ​ ะจ​ ัดอ​ ยู่ก​ ลุ่มเ​ดียวกัน ข้อมูล​
ที่อ​ ยู่​ต่างก​ ลุ่ม​กัน​จะม​ ีค​ ุณสมบัติต​ ่าง​กัน การจ​ ำ�แนก​กลุ่ม​นี้​ไม่มีค​ วาม​หมายเ​ชิง​ปริมาณ เช่น เพศข​ อง​นักเรียน
จำ�แนกเ​ป็น นักเรียนช​ าย นักเรียนห​ ญิง อาชีพข​ องผ​ ู้ป​ กครองจ​ ำ�แนกเ​ป็น เกษตรกร รับจ้าง รับร​ าชการ ข้อมูล​
เชงิ ค​ ณุ ภาพจ​ ะม​ ก​ี ารว​ ดั ใ​นม​ าตราน​ ี้ ตวั แปรใ​นก​ ารว​ จิ ยั ท​ วี​่ ดั ใ​นม​ าตราน​ เี​้ รยี กว​ า่ ตวั แปรเ​ชงิ ค​ ณุ ภาพ (non-metric
variables)

            2.3.2	 ขอ้ มลู ท​ ว​่ี ดั ใ​นม​ าตราเ​รยี งอ​ นั ดบั (ordinal scale) ข้อมูลท​ ีว่​ ัดใ​นม​ าตราน​ ีค้​ รอบคลุมข​ ้อมูล​
ที่​วัด​ใน​มาตรา​นาม​บัญญัติ และ​สามารถ​จัด​เรียง​อันดับ​ระหว่าง​กลุ่ม​ให้​มี​อันดับ​ลด​หลั่น​เป็น​ขั้น ๆ โดย​บอก​
ทิศทางค​ วามแ​ ตกต​ ่างไ​ด้ว​ ่าม​ ากห​ รือน​ ้อยก​ ว่าก​ ัน เช่น ระดับก​ ารศ​ ึกษา จำ�แนกเ​ป็น ประถมศ​ ึกษา มัธยมศึกษา
อนุปริญญา ปริญญา​ตรี สูง​กว่า​ปริญญา​ตรี ขนาดข​ อง​โรงเรียน จำ�แนกเ​ป็น เล็ก กลาง ใหญ่ และใ​หญ่​พิเศษ
ข้อมูล​เชิง​คุณภาพ​จะ​มี​การ​วัด​ใน​มาตรา​นี้ ตัวแปร​ใน​การ​วิจัย​ที่​วัด​ใน​มาตรา​นี้​เรียก​ว่า ตัวแปร​เชิง​คุณภาพ
(non-metric variables)

            2.3.3	 ขอ้ มูล​ท่ี​วัด​ใน​มาตรา​อนั ตรภาค หรอื มาตราช​ ่วง (interval scale) ข้อมูล​ที่​วัดใ​น​มาตรา​นี​้
ครอบคลุม​ข้อมูล​ที่​วัด​ใน​มาตรา​เรียง​อันดับ และ​มี​คุณสมบัติ​เพิ่ม​อีก​ประการ​หนึ่ง​คือ ความ​ห่าง​ของ​แต่ละ​
หน่วยท​ ี่​วัดม​ ีค​ ่า​เท่าก​ ัน จึง​สามารถ​บอกค​ วาม​แตก​ต่าง​ระหว่างห​ น่วยท​ ี่​อยู่​เหนือก​ ว่าห​ รือ​ตํ่า​กว่าไ​ด้ แต่​ข้อมูล​ที​่
วัด​ใน​มาตรา​นี้ไ​ม่มี​ศูนย์​แท้ เช่น คะแนน​สอบ อุณหภูมิ ข้อมูล​เชิง​ปริมาณ​จะ​มี​การ​วัด​ใน​มาตรา​นี้ ตัวแปร​ใน​
การ​วิจัย​ที่​วัดใ​น​มาตราน​ ี้เ​รียกว​ ่า ตัวแปร​เชิง​ปริมาณ (metric variables)

            2.3.4	 ข้อมูล​ที่ว​ ดั ใ​น​มาตราอ​ ตั ราสว่ น (ratio scale) ข้อมูลท​ ี่ว​ ัดใ​นม​ าตรา​นี้ค​ รอบคลุมข​ ้อมูลท​ ี่​
วัดใ​นม​ าตราอ​ ันตรภาค และ​มีค​ ุณสมบัติ​เพิ่มอ​ ีกป​ ระการ​หนึ่งค​ ือ ข้อมูล​ที่ว​ ัดใ​นม​ าตราน​ ี้ม​ ีศ​ ูนย์แ​ ท้ เช่น ราย​ได​้
ของผ​ ปู้​ กครอง นํา้ ห​ นักแ​ ละส​ ่วนส​ ูงข​ องน​ กั เรยี น ตัวแปรใ​นก​ ารว​ ิจยั ท​ วี่​ ัดใ​นม​ าตราน​ เี​้ รยี กว​ ่า ตวั แปรเ​ชิงป​ รมิ าณ
(metric variables)

       ค่า​ของ​ตัวแปร​ที่​วัด​ได้​ใน​มาตรา​อันตรภาค และม​ าตรา​อัตราส่วน หรือต​ ัวแปร​เชิง​ปริมาณ (metric
variables) สามารถน​ ำ�​มาค​ ำ�นวณ​ทางค​ ณิตศาสตร์ เช่น นำ�​มาบว​ ก ลบ คูณ หรือ​หารก​ ัน​ได้

3. 	ประเภท​ของ​สถิติ

       นกั ส​ ถติ แ​ิ บง่ ป​ ระเภทข​ องส​ ถติ ต​ิ ามบ​ ทบาทใ​นก​ ารว​ จิ ยั เ​ปน็ 3 ประเภท ดงั นี้ (นงลกั ษณ์ วริ ชั ช​ ยั . 2548: 3)
       3.1	 สถติ ว​ิ า่ ด​ ว้ ยก​ ารเ​ลอื กก​ ลมุ่ ต​ วั อยา่ ง (sampling statistics) นักว​ ิจัยใ​ชส้​ ถิตปิ​ ระเภทน​ ีใ้​นก​ ารก​ ำ�หนด​
ขนาด​กลุ่ม​ตัวอย่างใ​ห้ม​ ี​ขนาด​พอเ​พียง ไม่​มากแ​ ละไ​ม่​น้อย​เกินไ​ป และใ​ช้​สถิติป​ ระเภท​นี้​ในก​ ารเ​ลือก​ตัวอย่าง​
ให้เ​ป็นต​ ัวแทนท​ ี่ด​ ีข​ อง​ประชากร
       3.2	 สถิติ​บรรยาย หรือ​สถิติ​พรรณนา (descriptive statistics) นัก​วิจัย​ใช้​สถิติ​ประเภท​นี้​ใน​การ
นำ�​เสนอ​ข้อมูล ทั้ง​ใน​รูป​แผนภูมิ​ชนิด​ต่าง ๆ (เช่น แผนภูมิ​แท่ง แผนภูมิ​รูป​วงกลม) และ​ใน​รูป​ค่า​สถิติ
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22