Page 19 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 19

การว​ ิเคราะห์​และ​การ​แปลผ​ ลข​ ้อมูล 11-9

       จากภ​ าพท​ ี่ 11.1 หากป​ ญั หาว​ จิ ยั ท​ นี​่ กั ว​ จิ ยั ส​ นใจศ​ กึ ษาม​ ป​ี ระชากรซ​ ึง่ ม​ ข​ี นาดใ​หญม​่ าก (N) ดว้ ยข​ อ้ จ​ �ำ กดั ​
ด้านเ​วลา และง​ บป​ ระมาณ นักว​ ิจัยจ​ ึงศ​ ึกษาจ​ ากก​ ลุ่มต​ ัวอย่าง ในก​ ารก​ ำ�หนดข​ นาดก​ ลุ่มต​ ัวอย่าง (n) ใหม้​ ขี​ นาด​
พอเ​พียง ไม่ม​ ากแ​ ละไ​ม่น​ ้อยเ​กินไ​ป นักว​ ิจัยต​ ้องใ​ช้ส​ ถิติว​ ่าด​ ้วยก​ ารเ​ลือกก​ ลุ่มต​ ัวอย่าง (sampling statistics)
มาช​ ่วยใ​นก​ ารก​ ำ�หนดข​ นาดข​ องก​ ลุ่มต​ ัวอย่าง และว​ ิธกี​ ารส​ ุ่มต​ ัวอย่าง จากน​ ั้นน​ ักว​ ิจัยจ​ ะน​ ำ�​เครื่องม​ ือท​ ี่ส​ ร้างข​ ึ้น​
ไปเ​ก็บร​ วบรวมข​ ้อมูลจ​ ากก​ ลุ่มต​ ัวอย่างแ​ ล้วน​ ำ�​ข้อมูลต​ ่าง ๆ ทีเ่​ก็บร​ วบรวมไ​ดม้​ าว​ ิเคราะหเ์​พื่อส​ รุปเ​ป็นภ​ าพร​ วม​
ของเ​รือ่ งท​ ศี​่ กึ ษา เชน่ รอ้ ยล​ ะข​ องก​ ลุม่ ต​ วั อยา่ งท​ เี​่ ปน็ เ​พศห​ ญงิ แ​ ละเ​พศช​ าย อายเ​ุ ฉลีย่ คะแนนเ​ฉลีย่ การกร​ ะจ​ าย​
ของ​คะแนน การกร​ ะจ​ าย​ของ​รายไ​ด้​ของ​ผู้​ปกครอง ภาวะผ​ ู้นำ�​ของผ​ ู้​บริหาร ค่า​เหล่าน​ ี้เ​รียก​ว่า ค่า​สถิติ เพราะ​
คำ�นวณม​ าจ​ ากก​ ลุ่มต​ ัวอย่าง สถิติ​ที่น​ ักว​ ิจัยใ​ช้ใ​นข​ ั้นต​ อนน​ ี้ค​ ือ สถิติพ​ รรณนา หรือ​สถิติบ​ รรยาย (descriptive
statistics) ใน​การ​ตอบ​คำ�ถาม​วิจัย​บาง​ข้อ​นัก​วิจัย​อาจ​มี​การ​อนุมาน​ค่า​สถิติ​ที่​ได้​จาก​กลุ่ม​ตัวอย่าง​ไป​เป็น​
ค่าข​ องป​ ระชากร เช่น อนุมานร​ าย​ได้​เฉลี่ย​ของก​ ลุ่มต​ ัวอย่างไ​ปเ​ป็น​ราย​ได้​เฉลี่ยข​ อง​ประชากรซ​ ึ่งค​ ่า​นี้​เรียกว​ ่า
ค่า​พารามิเตอร์ โดย​ใช้​การ​ประมาณ​ค่า หรือ​มี​การ​ทดสอบ​สมมติฐาน​ว่า​ภาวะ​ผู้นำ�​ของ​ผู้​บริหาร​เพศ​หญิง​กับ​
เพศ​ชาย​ต่างก​ ัน​หรือไ​ม่ สถิติท​ ี่น​ ักว​ ิจัย​นำ�​มาใ​ช้ใ​นก​ าร​ประมาณค​ ่า หรือท​ ดสอบส​ มมติฐานน​ ี้ค​ ือ สถิติอ​ นุมาน
(inferential statistics) ใน​กรณี​ที่​ประชากร​มี​ขนาด​เล็ก​นัก​วิจัย​สามารถ​เก็บ​ข้อมูล​จาก​ประชากร​ทั้งหมด
นักว​ ิจัยก​ ็​จะใ​ช้ส​ ถิติ​พรรณนา หรือ​สถิติบ​ รรยาย (descriptive statistics) ในก​ ารอ​ ธิบายค​ ่าพ​ ารามิเตอร์ข​ อง​
ประชากร

4. 	การ​เลอื ก​ใช​ส้ ถติ ิ​ให้​เหมาะส​ ม​กบั ป​ ระเภทข​ องข​ ้อมูล

       การเ​ลือกใ​ช้ส​ ถิติใ​ห้เ​หมาะ​สม พิจารณาจ​ าก​ประเด็นต​ ่อ​ไปน​ ี้​ประกอบก​ ัน
       4.1 	วตั ถปุ ระสงค​ก์ ารว​ จิ ยั ซึ่งโ​ดย​ทั่วไป​การ​วิจัย​มัก​มี​วัตถุประสงค์​ใหญ่ ๆ เพื่อ

            4.1.1	 บรรยายล​ กั ษณะข​ องป​ ระชากร หรอื ก​ ลมุ่ ต​ วั อยา่ ง เช่น การแ​ สดงจ​ ำ�นวน และร​ ้อยล​ ะข​ อง​
กลุ่ม​ตัวอย่าง จำ�แนก​ตาม​เพศ ระดับ​การ​ศึกษา ช่วง​อายุ ประสบการณ์ก​ าร​ทำ�งาน เพื่อ​แสดง​ให้​เห็น​ว่า​กลุ่ม​
ตัวอย่างท​ ี่ส​ ุ่ม​มาเ​ป็น​ตัวแทนข​ องป​ ระชากร

            4.1.2	 เปรียบ​เทียบ​ความ​แตก​ต่าง​ระหว่าง​ประชากร เช่น การ​เปรียบ​เทียบ​ภาวะ​ผู้นำ�​ของ​
ผู้​อำ�นวยก​ ารส​ ำ�นักงานเ​ขตพ​ ื้นที่ภ​ าคก​ ลาง กับภ​ าคใ​ต้ การเ​ปรียบเ​ทียบผ​ ลข​ องน​ วัตกรรมก​ ารบ​ ริหารท​ ี่ต​ ่างก​ ัน​
ต่อ​ผล​สัมฤทธิ์ท​ างการ​เรียน​ของ​นักเรียน

            4.1.3	 อธิบาย​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​ตัวแปร​หรือ​การ​ทำ�นาย เช่น การ​ศึกษา​ความ​สัมพันธ์​
ระหว่าง​ภาวะ​ผู้นำ�​ของ​ผู้​บริหาร​สถาน​ศึกษา​กับ​ประสิทธิภาพ​การ​ทำ�งาน​ของ​ครู ใน​โรงเรียน​สังกัด​สำ�นักงาน​
การ​ศึกษา​ขั้น​พื้น​ฐาน การ​ศึกษา​อิทธิพล​ของ​ความ​ก้าวหน้า​และ​ความ​ผูกพัน​ใน​งาน​ของ​ครู​ต่อ​ประสิทธิภาพ​
การ​ทำ�งาน​ของค​ รู

            4.1.4	 จดั ร​ ะบบโ​ครงสรา้ งค​ วามส​ มั พนั ธข​์ องก​ ลมุ่ ต​ วั แปร เชน่ การศ​ กึ ษาอ​ งคป​์ ระกอบข​ องภ​ าวะ​
ผู้นำ� กับ​การพ​ ัฒนา​ตัว​บ่งช​ ี้​คุณธรรมจ​ ริยธรรม​ของ​ผู้บ​ ริหาร

            4.1.5	 แสวงหาค​ วามส​ มั พนั ธเ​์ ชงิ ส​ าเหตุ เชน่ ​การศ​ กึ ษาผ​ ลข​ องก​ ารจ​ ดั โ​คร​ งก​ ารเ​ศรฐก​ จิ พ​ อเ​พยี ง​
ใน​โรงเรียนต​ ่อ​การ​เห็นป​ ระโยชน์​ของก​ าร​ออม
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24