Page 20 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 20
11-10 การวิจัยการบริหารการศึกษา
4.1.6 พัฒนาหรือทดสอบท ฤษฎโี ดยการส รา้ งแบบจำ�ลองห รอื โมเดล เช่น การพ ัฒนาตัวแ บบ
สมการโครงสร้างภาวะผ ู้นำ�การเปลี่ยนแปลงข องผ ู้บ ริหารส ถานศึกษาขั้นพ ื้นฐ าน
4.2 มาตราก ารว ดั ค า่ ข องต วั แปร นักว ิจัยต ้องพ ิจารณาว ่าต ัวแปรท ี่จ ะน ำ�มาว ิเคราะห์น ั้นว ัดในม าตรา
นามบ ัญญัติ (nominal scale) มาตราเรียงอันดับ (ordinal scale) มาตราอ ันตรภาค (interval scale) หรือ
มาตราอ ัตราส่วน (ratio scale) ถึงแมง้ านว ิจัยท ี่ม วี ัตถุประสงค์ก ารว ิจัยเดียวกันแ ต่ถ ้าต ัวแปรท ีศ่ ึกษาม มี าตรา
การวัดต่างกัน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ก็จะต่างกัน เช่น นักวิจัยต้องการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอายุงานกับ
เงินเดือนของผู้บริหาร ซึ่งตัวแปรทั้งสองเป็นตัวแปรเชิงปริมาณสามารถหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบ
เพียร์สันได้ แต่ถ้าการออกแบบเครื่องมือท ี่เก็บข้อมูลให้กลุ่มต ัวอย่างเลือกตอบว ่ามีอายุงานแ ละเงินเดือนอยู่
ในช ่วงใด สถิติท ี่ใช้วิเคราะห์ความสัมพันธ์ค ือก ารท ดสอบไคสแควร์ เป็นต้น
4.3 จ�ำ นวนต วั แปรท ศ่ี กึ ษา นกั ว จิ ยั ต อ้ งพ จิ ารณาว า่ จ �ำ นวนต วั แปรอ สิ ระแ ละจ �ำ นวนต วั แปรต ามในก าร
ว จิ ยั น ัน้ ม อี ยา่ งล ะก ตี่ วั เนือ่ งจากจ �ำ นวนต วั แปรท ศี่ กึ ษาเปน็ เงือ่ นไขท สี่ �ำ คญั ป ระการห นึง่ ในก ารเลอื กใชส้ ถติ เิ พือ่
การว ิเคราะห์ เช่น ผูบ้ ริหารต ้องการเปรียบเทียบผ ลข องน วัตกรรมส องช นิดต ่อค วามผ ูกพัน และป ระสิทธิภาพ
การทำ�งานข องค รู จะเห็นว่าตัวแปรตามที่น ักวิจัยส นใจศ ึกษาเป็นต ัวแปรเชิงป ริมาณส องต ัว ตัวแปรอ ิสระคือ
ตัวแปรเชิงค ุณภาพห นึ่งตัว สถิติที่ค วรเลือกใช้ค ือการวิเคราะห์ค วามแ ปรปรวนพ หุ (MANOVA) เป็นต้น
4.4 ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง นักวิจัยต้องพิจารณาว่ากลุ่มตัวอย่างมีขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ เช่น
กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษามีขนาดเล็กกว่า 30 ตัวอย่าง และการแจกแจงไม่เป็นโค้งปกติ นักวิจัยควรเลือกสถิติ
ทดสอบท ี่ไม่อ ิงพ ารามิเตอร์
4.5 จ�ำ นวนก ลมุ่ ข องป ระชากรท ศ่ี กึ ษา นักว ิจัยต ้องพ ิจารณาว ่าง านว ิจัยน ั้นศ ึกษาก ับป ระชากรก ี่ก ลุ่ม
จำ�นวนกลุ่มของประชากรที่ศึกษาต่างกันสถิติที่ใช้ก็ต่างกันด้วย เช่น นักวิจัยต้องการเปรียบเทียบผลของ
โครงการว ่าเป็นไปต ามเกณฑ์ท ี่ต ั้งไว้ห รือไม่ สถิติท ดสอบท ี่ค วรใช้ค ือก ารท ดสอบท ีแ บบก ลุ่มก ลุ่มเดียว (One
Sample t-Test) แตถ่ ้าม ีก ารเปรียบเทียบผ ลข องโครงการร ะหว่างพ ื้นทีท่ ดลองก ันพ ื้นทีค่ วบคุม สถิตทิ ดสอบ
ที่ควรใช้ค ือก ารท ดสอบทีแ บบก ลุ่มต ัวอย่างสองกลุ่มอิสระกัน (Independent Samples t-Test)
4.6 ความต า่ งร ะดบั ข องห นว่ ยก ารว เิ คราะห์ นกั ว จิ ยั ต อ้ งพ จิ ารณาว า่ เกบ็ ร วบรวมข อ้ มลู ม าจ ากห นว่ ย
ตัวอย่างท ี่ต ่างร ะดับก ันห รือไม่ งานว ิจัยบ างเรื่องเก็บต ัวแปรห ลายร ะดับ เช่น ตัวแปรร ะดับน ักเรียนเก็บข ้อมูล
ผลสัมฤทธิ์ท างการเรียนของนักเรียน ฐานะท างเศรษฐกิจข องผู้ปกครอง ตัวแปรร ะดับค รูเก็บข้อมูลค ุณภาพ
การส อน ความผ ูกพันต ่ออาชีพ และต ัวแปรร ะดับโรงเรียนเก็บข ้อมูล งบประมาณที่ได้ร ับจ ัดสรร ภาวะผ ู้นำ�
ของผู้บริหาร และต้องวิเคราะห์ข้อมูลระดับโรงเรียน ระดับครู และฐานะทางเศรษฐกิจของผู้ปกครองส่ง
อิทธิผลต ่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนข องน ักเรียนม ากน้อยเพียงใด
4.7 ความส อดคลอ้ งข องข อ้ มลู ก บั ข อ้ ต กลงเบอ้ื งต น้ ข องส ถติ วิ เิ คราะหท์ จี่ ะใช้ สถติ วิ เิ คราะหแ์ ตล่ ะต วั
จะมีข้อตกลงเบื้องต้นต่างกัน นักวิจัยต้องตรวจสอบก่อนว่าข้อมูลที่จะนำ�มาวิเคราะห์เป็นไปตามข้อตกลง
เบื้องต้นหรือไม่ เช่น นักวิจัยต้องการศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปรสองตัว แต่ตัวแปรสองตัวนั้นวัดใน
มาตรานามบัญญัติ นักว ิจัยต ้องเลือกใช้ส ถิติฟ ี (Phi) แต่ถ ้าต ัวแปรท ั้งสองตัวว ัดในมาตราอันตรภาค สถิตท ี่
เหมาะส มค ือสหสัมพันธ์แบบเพียร์ส ัน