Page 21 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 21
การวิเคราะห์และการแปลผ ลข ้อมูล 11-11
4.8 การเก็บข้อมูลคร้ังเดียว หรือเก็บข้อมูลหลายช่วงเวลา ประเด็นนี้ก็มีความสำ�คัญในการเลือก
ใช้สถิติ เช่น นักวิจัยต้องการเปรียบเทียบผลของโครงการระหว่างก่อนและหลังดำ�เนินโครงการ และเมื่อ
โครงการส ิน้ ส ุดไปแ ล้วร ะยะห นึง่ สถติ ทิ ดสอบท คี่ วรใชค้ ือก ารว ิเคราะหค์ วามแ ปรปรวนแ บบว ัดซ ํ้า (Repeated
ANOVA)
เรือ่ งท่ี 11.1.2 สถติ สิ �ำ หรบั การบ รรยายข ้อมลู
การวิเคราะห์ข้อมูลที่จะกล่าวถึงเป็นอันดับแรกคือการวิเคราะห์เพื่อบรรยายลักษณะของ
กลุ่มตัวอย่าง/ข้อมูล ประกอบด้วยการแจกแจงความถี่ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การวัดการกระจาย
การวัดความเบ้ การวัดค วามโด่งข องข้อมูล
1. การแจกแจงค วามถ่ี
การแ จกแจงความถี่ คือ การนำ�ข้อมูลท ี่น ักว ิจัยร วบรวมม าได้ซึ่งเป็นข้อมูลดิบ (Raw data) มาจ ัด
ให้เป็นระเบียบ เป็นหมวดหมู่โดยเรียงจากค่ามากไปหาค่าน้อย (หรือเรียงจากค่าน้อยไปหาค่ามาก) แล้ว
นับจำ�นวนความถี่ เพื่อสะดวกในการวิเคราะห์และง่ายต่อการนำ�เสนอเป็นค่าสถิติต่าง ๆ เช่น ค่าสัดส่วน
ร้อยล ะ เป็นต้น การแ จกแจงค วามถีเ่ป็นว ิธกี ารท างส ถิตทิ ีพ่ ื้นฐ านท ี่สุดส ำ�หรับก ารว ิเคราะหข์ ้อมูล การแ จกแจง
ความถี่ส ามารถแจกแจงได้ทั้งทีละตัวแปร และหลายตัวแปรพร้อมกัน
1.1 การแจกแจงความถ่ีแบบทางเดียว เป็นการแจกแจงความถี่ทีละตัวแปร โดยนำ�ข้อมูลของ
ตัวแปรหนึ่งตัวมาจัดให้เป็นระเบียบเป็นหมวดหมู่ แล้วนับจำ�นวนความถี่เพื่อสะดวกในการวิเคราะห์และ
ง่ายต่อการนำ�เสนอเป็นค่าสถิติต่าง ๆ เพื่อให้ง่ายต่อการทำ�ความเข้าใจและการประยุกต์ใช้สำ�หรับการวิจัย
ทางการบ ริหารก ารศ ึกษา ผู้เขียนจ ะย กต ัวอย่างง านว ิจัย 1 เรื่องให้เห็นถ ึงว ัตถุประสงค์ข องก ารว ิจัย เครื่องม ือ
ที่ใช้ และการเลือกสถิติเพื่อว ิเคราะห์ข ้อมูล แล้วสมมติข ้อมูลเพื่อประกอบการอ ธิบาย ดังต ัวอย่างที่ 11.1
ตัวอยา่ งท่ี 11.1
นักวิจัยต้องการศึกษาผลการดำ�เนินงานวิชาการตามแนวการบริหารโรงเรียนเป็นฐานต่อคะแนน
NT ของโรงเรียนในเขตพื้นที่ก ารศึกษาภาคเหนือต อนบน โดยม ีว ัตถุประสงค์ข องก ารวิจัยด ังนี้
1. เพื่อศ ึกษาผ ลการด ำ�เนินง านว ิชาการต ามแนวการบริหารโรงเรียนเป็นฐาน ใน 3 ด้าน คือ
ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ด้านการว ิจัยพ ัฒนาคุณภาพการศ ึกษา และด้านการพ ัฒนานวัตกรรม
2. เพื่อศึกษาค ะแนน NT ของนักเรียน
3. เพื่อเปรียบเทียบผลการดำ�เนินงานวิชาการตามแนวการบริหารโรงเรียนเป็นฐานระหว่าง
โรงเรียนท ี่ม ีข นาดต่างก ัน