Page 49 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 49

การ​วิเคราะห์แ​ ละ​การ​แปล​ผลข​ ้อมูล 11-39

ตาราง​ท่ี 11.10	ผลก​ ารท​ ดสอบส​ มมตฐิ านว​ า่ พฤตกิ รรมจ​ ติ อ​ าสาข​ องน​ กั เรยี นห​ ลงั ไ​ ดร​้ บั ก​ ารจ​ ดั การเ​รยี นร​ ต​ู้ ามหลกั สตู ร​
            เศรษฐกิจพ​ อ​เพียงส​ ูงก​ วา่ ​ก่อนไ​ ดร้​ บั ​การจ​ ัดการ​เรยี น​รต​ู้ ามห​ ลักสตู รเ​ศรษฐกิจพ​ อเ​พยี ง

   คะแนนพฤตกิ รรมจิตอาสา    คา่ เฉลย่ี      SD       t  p (one tailed)
                                                10.062  .000
ก่อนการจัดการเรียนรู้     52.37         6.85
หลังการจัดการเรียนรู้     57.57         5.14
ผลต่าง                    5.20          4.00

       จากต​ ารางท​ ี่ 11.10 พบว​ า่ คา่ เ​ฉลีย่ ค​ ะแนนพ​ ฤตกิ รรมจ​ ติ อ​ าสาข​ องน​ กั เรยี นก​ อ่ นไ​ดร​้ บั ก​ ารจ​ ดั การเ​รยี นร​ ​ู้
ตาม​หลักสูตร​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง​เท่ากับ 52.37 ส่วน​เบี่ยง​เบน​มาตรฐาน เท่ากับ 6.85 และ​ค่า​เฉลี่ย​คะแนน​
พฤติกรรม​จิต​อาสา​ของ​นักเรียน​หลัง​ได้​รับ​การ​จัดการ​เรียน​รู้​ตาม​หลักสูตร​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง เท่ากับ 57.57
ส่วน​เบี่ยง​เบน​มาตรฐาน เท่ากับ 5.14 ค่าเ​ฉลี่ย​ของ​ผลต​ ่าง​เท่ากับ 5.20 ส่วนเ​บี่ยง​เบนม​ าตรฐาน เท่ากับ 4.00
จากก​ าร​ทดสอบ​ความ​แตกต​ ่างข​ อง​ค่าเ​ฉลี่ย​ด้วย t-test ได้ค​ ่า t = 10.062 มี​นัยส​ ำ�คัญท​ างส​ ถิติ​ที่ร​ ะดับ 0.05
(หมายความ​ว่า​ค่า​เฉลี่ย​คะแนน​พฤติกรรม​จิต​อาสา​ของ​นักเรียน​หลัง​ได้​รับ​การ​จัดการ​เรียน​รู้​ตาม​หลักสูตร​
เศรษฐกิจ​พอ​เพียงส​ ูงก​ ว่า​ก่อน​ได้​รับ​การ​จัดการ​เรียนร​ ู้ต​ ามห​ ลักสูตร​เศรษฐกิจพ​ อ​เพียง​อย่างม​ ีน​ ัยส​ ำ�คัญ)

       ข้อส​ ังเกต​บางป​ ระการใ​นก​ าร​ทดสอบ​ความ​แตก​ต่าง​ของ​ค่าเ​ฉลย่ี
       1. 	 การท​ ดสอบ t-test มี​ตัวแปรต​ าม 1 ตัว และต​ ้องเ​ป็น​ตัวแปร​เชิงป​ ริมาณ (metrics variable)
ตัวแปร​ต้น 1 ตัว​และต​ ้อง​เป็น​ตัวแปร​จัด​ประเภท (categorical variable) มี​ได้ 2 ค่า หรือ 2 กลุ่ม
       2. 	 ตัวอย่าง​ต้อง​สุ่ม​มา​จาก​ประชากร ซึ่ง​เป็น​ไป​ได้​ยาก​ใน​การ​วิจัย​ทางการ​ศึกษา​ที่​มัก​เลือก​ตัวอย่าง​
ตาม​สะดวก ทำ�ให้ม​ ี​การฝ​ ่าฝืนข​ ้อต​ กลงเ​บื้องต​ ้น การใ​ช้​กลุ่ม​ตัวอย่างข​ นาดใ​หญ่ และข​ นาดไ​ม่​ต่างก​ ันม​ ากใ​น​
แต่ละ​กลุ่ม​จะ​ทำ�ให้ก​ าร​ทดสอบ​ด้วย t–test มี​ความ​แกร่ง แม้ฝ​ ่าฝืน​ข้อต​ กลง​เบื้องต​ ้น (Muijs. 2011: 119)
       3. 	 การ​ทดสอบ​ด้วย t-test ที่​มี​นัย​สำ�คัญ​มิได้​บอก​ว่า​ตัวแปร​ต้น​มี​อิทธิพล​ต่อ​ตัวแปร​ตาม​มาก​
หรือ​น้อย (strong or weak) เนื่องจาก​การ​มี​นัย​สำ�คัญ​ขึ้น​กับ​องค์​ประกอบ 3 ประการ คือ (McMillam.
2012: 253)

            (1) 	ขนาด​ของ​ผล​ต่าง​ของ​ค่า​เฉลี่ย​ของ​กลุ่ม​ตัวอย่าง​ทั้ง​สอง​กลุ่ม ถ้า​ผล​ต่าง​ของ​ค่า​เฉลี่ย​มี​
ขนาด​ใหญ่ ความน​ ่า​จะ​เป็นท​ ี่จ​ ะ​ปฏิเสธ​สมมติฐาน​ว่างก​ ็ย​ ิ่งม​ าก

            (2) 	ขนาด​ของ​กลุ่ม​ตัวอย่าง ถ้า​กลุ่ม​ตัวอย่าง​ยิ่ง​มี​ขนาด​ใหญ่​ความ​น่า​จะ​เป็น​ที่​จะ​ปฏิเสธ​
สมมติฐานว​ ่างก​ ็​ยิ่งม​ าก

            (3) 	ระดับ​ความคลาด​เคลื่อน​ของ​การ​สุ่ม​ตัวอย่าง​และ​การ​วัด ถ้า​กลุ่ม​ตัวอย่าง​ยิ่ง​มี​ระดับ​
ความคลาด​เคลื่อนม​ ากค​ วามน​ ่าจ​ ะเ​ป็น​ที่จ​ ะป​ ฏิเสธ​สมมติฐานว​ ่างก​ ็​ยิ่ง​มาก

       ดังน​ ั้น นัก​วิจัยจ​ ึงจ​ ำ�เป็น​ต้อง​คำ�นวณข​ นาดข​ อง​อิทธิพล (effect size) ซึ่ง​มีชื่อเ​รียกว​ ่า Cohen’s d
จากส​ ูตร​ต่อไ​ปน​ ี้ (McMillam. 2012: 256)
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54