Page 51 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 51
การว ิเคราะห์และก ารแ ปลผ ลข้อมูล 11-41
ตอบ ในการวิเคราะห์ t-test แบบกลุ่มตัวอย่างเป็นอิสระกัน มีค่า sig 2 ค่า ค่าแรกเป็นระดับ
นัยสำ�คัญส ำ�หรับการท ดสอบค วามแ ปรปรวนของป ระชากรส องก ลุ่มว่าต่างก ันห รือไม่ (Levene’s test) และ
ระดับน ัยส ำ�คัญอีกอันหนึ่งเป็นระดับน ัยสำ�คัญของ t-test ถ้า Levene’s test ไม่มีน ัยสำ�คัญ เลือกค่า t จาก
Equal variances assumed แต่ถ ้า Levene’s test มีน ัยสำ�คัญให้เลือกค่า t จาก Equal variances not
assumed (Muijs. 2011: 121)
2. ในก ารศ ึกษาผลการใช้โปรแกรมการสอน A เพื่อพ ัฒนาค วามส ามารถในก ารอ ่านโดยใช้ t-test
มีระดับนัยสำ�คัญที่ระดับ 0.01 แต่การศึกษาผลการใช้โปรแกรมการสอน B เพื่อพัฒนาความสามารถใน
การอ่านโดยใช้ t-test เช่นเดียวกันมีระดับนัยสำ�คัญที่ระดับ 0.045 หมายความว่าโปรแกรมการสอน A
ดีก ว่าโปรแกรม B ใช่หรือไม่
ตอบ ไมจ่ �ำ เปน็ ระดบั น ยั ส �ำ คญั จ ะม ากห รอื น อ้ ยข ึน้ ก บั ห ลายอ งคป์ ระกอบ เชน่ ขนาดข องก ลุม่ ต วั อยา่ ง
หมายความว่ากลุ่มตัวอย่างที่มีขนาดใหญ่กว่าจะมีระดับนัยสำ�คัญมากกว่ากลุ่มตัวอย่างขนาดเล็กกว่า และ
นี่เป็นเหตุผลที่ต้องค ำ�นวณข นาดของอ ิทธิพล (Muijs. 2011: 122)
3. ถ้าข นาดของอ ิทธิพลม ีข นาดปานกลาง หมายความว่า โปรแกรมที่จ ัดให้ได้ผ ลด ี ใช่หรือไม่
ตอบ ไม่จำ�เป็น นอกจากจะมีก ารอ อกแบบก ารว ิจัยเชิงทดลองแท้ สุ่มตัวอย่างครบ 3 ขั้นตอน ได้แก่
การเลือกหน่วยตัวอย่างแบบสุ่ม (random selection) การจัดหน่วยตัวอย่างเข้ากลุ่มแบบสุ่ม (random
assignment) และการเลือกกลุ่มทดลองอย่างสุ่ม (random treatment) ซึ่งการวิจัยทางการศึกษาทำ�ไม่
ค่อยได้
ในกรณีที่กลุ่มตัวอย่างมีขนาดเล็ก หรือการแจกแจงของข้อมูลไม่เป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้น
ของการทดสอบที คือข้อมูลไม่แจกแจงแบบปกติ นักวิจัยสามารถใช้สถิติทดสอบที่ไม่อิงพารามิเตอร์ เช่น
การทดสอบเครื่องหมาย (The Sign test) หรือการทดสอบเครื่องหมายและลำ�ดับที่ของวิลคอกซัน
(The Wilcoxon Matched Pairs Signed-Ranks Test) แทนก ารท ดสอบทีได้
3. การท ดสอบค วามแ ตกต่างของค่าเฉลยี่ ก รณีกลุม่ ต วั อยา่ งตงั้ แต่สามกลุม่ ข้นึ ไ ป
การทดสอบค วามแ ตกต่างของค่าเฉลี่ยกรณีก ลุ่มตัวอย่างตั้งแต่ส ามกลุ่มขึ้นไป เป็นการว ิเคราะห์ที่
รู้จักก ันด ีในช ื่อว ่า “การว ิเคราะห์ค วามแ ปรปรวน (Analysis Of Variance: ANOVA)”
ANOVA แบ่งเป็นส องแบบต ามลักษณะก ลุ่มต ัวอย่างเช่นเดียวก ับ t–test คือ
(1) ANOVA กรณีกลุ่มตัวอย่างเป็นอิสระต่อกัน (Independent sample) แบ่งได้เป็นสองกรณี
คือ กรณีมีข้อตกลงว่าความแปรปรวนเท่ากัน (equal variance assumed) และกรณีมีข้อตกลงว่าความ
แปรปรวนไม่เท่าก ัน (equal variance not assumed)
(2) ANOVA กรณีก ลุ่มต ัวอย่างส ัมพันธ์กัน เรียกว่า repeated measure ANOVA
นอกจากนี้ ANOVA ยังแ บ่งเป็นช นิดต่าง ๆ ตามจ ำ�นวนต ัวแปรต้น เช่น one way ANOVA, two
way ANOVA, three way ANOVA เป็นต้น