Page 64 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 64

11-54 การวิจัยการบริหารการศึกษา

            3.3.3	 การน�ำ ​เสนอผ​ ลก​ ารว​ เิ คราะห์ ผลก​ ารท​ ดสอบค​ วามแ​ ปรปรวนร​ ว่ มใ​นข​ ัน้ ท​ สี​่ อง ตารางแ​ รก
​เป็น​ผล​การ​ทดสอบ​ความ​แตก​ต่าง​ของ POSTTEST ระหว่าง​กลุ่ม​ควบคุม​กับ​กลุ่ม​ทดลอง โดย​มี​ตัวแปร
PRETEST เป็น​ตัวแปร​ร่วม ผล​การ​ทดสอบ​พบ​ว่า POSTTEST ระหว่าง​กลุ่ม​ควบคุม​กับ​กลุ่ม​ทดลอง
ต่าง​กัน​อย่าง​มี​นัย​สำ�คัญ​ทาง​สถิติ ส่วน​ตาราง​ที่​สอง​เป็น​คะแนน​เฉลี่ย​หลัง​ทดลอง​ของ​กลุ่ม​ควบคุม​และ​กลุ่ม​
ทดลอง​เมื่อป​ รับ​ด้วย​คะแนนก​ ่อนท​ ดลอง​แล้ว ตัวอย่างก​ ารนำ�​เสนอผ​ ล​การว​ ิเคราะห์ ดัง​ตาราง​ที่ 11.15

ตาราง​ที่ 11.15	ผลก​ ารท​ ดสอบค​ วามแ​ ตกต​ า่ งข​ องค​ า่ เ​ฉลย่ี ค​ วามผ​ กู พนั ต​ อ่ อ​ าชพี ข​ องค​ รห​ู ลงั ท​ ดลองเ​มอ่ื ใ​ชค​้ ะแนนก​ อ่ น​
            ทดลอง​เปน็ ​ตวั แปร​รว่ ม

      กลมุ่    คา่ เฉลี่ยความผกู พนั ต่ออาชพี ของครหู ลงั การทดลอง   Fp
                                                                    22.90 0.000
นวัตกรรมแบบ 1  กอ่ นปรับ หลังปรับ ผลตา่ งของคะแนนเฉลยี่ SE
นวัตกรรมแบบ 2
               36.78 36.83       2.53  0.53
               34.36 34.30

            จาก​ตาราง​ที่ 11.15 พบ​ว่า ค่า​เฉลี่ย​ความ​ผูกพัน​ต่อ​อาชีพ​ของ​ครู​หลัง​การ​ทดลอง​ก่อน​ปรับ​
ของก​ ลุ่ม​ที่​ได้ร​ ับ​นวัตกรรม​แบบ 1 เท่ากับ 36.78 ของก​ ลุ่ม​ที่ไ​ด้ร​ ับน​ วัตกรรมแ​ บบ 2 เท่ากับ 34.36 เมื่อป​ รับ​
ค่า​เฉลี่ย​หลัง​การ​ทดลอง​ด้วย​คะแนน​ก่อน​ทดลอง​แล้ว​พบ​ว่า ค่า​เฉลี่ย​หลัง​การ​ทดลอง​ของ​กลุ่ม​ที่​ได้​รับ​
นวัตกรรม​แบบ 1 เท่ากับ 36.83 ของก​ ลุ่ม​ที่ไ​ด้​รับน​ วัตกรรม​แบบ 2 เท่ากับ 34.30 เมื่อท​ ดสอบค​ วาม​แตก​ต่าง​
พบ​ว่า​ต่างก​ ัน​อย่างม​ ี​นัยส​ ำ�คัญท​ าง​สถิติ​ที่​ระดับ 0.01

            ความ​เข้าใจ​คลาดเ​คลื่อนใ​น​การว​ ิเคราะห์​ความแ​ ปรปรวน (Muijs. 2011: 195-196)
            1. 	ANOVA ใช้​วิเคราะห์ว​ ่า​ความ​แปรปรวนร​ ะหว่างก​ ลุ่มเ​ท่าก​ ัน​ใช่ห​ รือ​ไม่
            ตอบ ไม่แ​ น่ ANOVA ใช้เ​ปรียบ​เทียบ​ความแ​ ตก​ต่างข​ อง​ค่า​เฉลี่ย​ระหว่าง​กลุ่ม
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69