Page 61 - การวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 11
P. 61

การว​ ิเคราะห์แ​ ละก​ ารแ​ ปลผ​ ล​ข้อมูล 11-51

            เมื่อ​พิจารณา​จาก​กราฟ​พบ​ว่า ครอบครัว​ที่​มี​เศรษฐ​า​นะ​ตํ่า​อบรม​เลี้ยง​ดู​แบบ​เน้น​ให้​ช่วย​เหลือ​
ตนเอง​จะ​ทำ�ให้​นักเรียน​มี​คะแนน​ความ​คิด​เชิง​วิเคราะห์​สูงสุด แต่​การ​อบรม​เลี้ยง​ดู​แบบ​นี้​จะ​ทำ�ให้​นักเรียน​
ที่มาจาก​ครอบครัว​ที่​มี​เศรษฐ​า​นะ​ปาน​กลาง​และ​เศรษฐ​า​นะ​สูง​มี​คะแนน​ความ​คิด​เชิง​วิเคราะห์​ตํ่า ครอบครัว​
ที่​มี​เศรษฐ​า​นะ​ปาน​กลาง​และ​เศรษฐ​า​นะ​สูง​ควร​อบรม​เลี้ยง​ดู​แบบ​ทะนุถนอม​จึง​จะ​ทำ�ให้​นักเรียน​มี​คะแนน​
ความ​คิด​เชิง​วิเคราะห์​สูงสุด แต่​การอ​ บรมเ​ลี้ยง​ดู​แบบน​ ี้​จะ​ทำ�ให้​นักเรียน​ที่​อยู่​ใน​ครอบครัวท​ ี่​มี​เศรษฐา​​นะ​ตํ่า​
มี​คะแนนค​ วาม​คิดเ​ชิง​วิเคราะห์​ตํ่า

            ใน​กรณี​ที่​อิทธิพล​ปฏิสัมพันธ์​ไม่มี​นัย​สำ�คัญ​ทาง​สถิติ ให้​นัก​วิจัย​อ่าน​ผล​การ​ทดสอบ อิทธิพล​
หลัก ในท​ นี่​ คี​้ อื SES กบั FEED ถา้ อ​ ิทธพิ ลห​ ลกั ม​ น​ี ยั ส​ ำ�คัญท​ างส​ ถติ ิ นกั ว​ ิจยั ก​ ด็​ ำ�เนนิ ก​ ารท​ ดสอบเ​ปรยี บเ​ทยี บ
ร​ ายค​ ู่ เช่นเ​ดียว​กับก​ าร​วิเคราะห์ค​ วามแ​ ปรปรวนท​ าง​เดียว

       3.3	 การ​วเิ คราะห​์ความแ​ ปรปรวนร​ ่วม (ANalysis of COVAriance: ANCOVA) เป็นการว​ ิเคราะห​์
ความ​แปรปรวน​ที่​มีก​ ารค​ วบคุมต​ ัวแปรแ​ ทรกซ้อน เพื่อ​ลด​ความ​แปรปรวน​ของ​ความคลาด​เคลื่อน และท​ ำ�ให้​
ผล​การ​วิเคราะห์​ข้อมูล​ถูก​ต้อง​ยิ่ง​ขึ้น ใน​การ​วิจัย​ซึ่ง​โดย​ทั่วไป​การ​ควบคุม​ตัวแปร​แทรกซ้อน​ทำ�ได้ 2 แบบ
คือ แบบ​แรก การ​ควบคุม​โดย​การ​ออกแบบ​การ​ทดลอง​โดย​ใช้​กระบวนการ​สุ่ม เพื่อ​ให้​กลุ่ม​ตัวอย่าง​มี​ความ
เ​ท่าเ​ทียมก​ ัน​ก่อน​การ​ทดลอง หรือ​การ​ให้ treatment แบบท​ ่​ีสอง การค​ วบคุม​ทาง​สถิติ เนื่องจากใ​น​การว​ ิจัย​
บาง​อย่าง​ผู้​วิจัย​ไม่​สามารถ​จัด​กระทำ�​กับ​กลุ่ม​ตัวอย่าง​ให้​มี​ความ​เท่า​เทียม​แต่​แรก​ได้ เช่น การ​ทดลอง​กับ​
โรงเรียนท​ ี่​มีก​ ารแ​ บ่งห​ ้องเรียนต​ ามร​ ะดับค​ วามส​ ามารถ ผู้ว​ ิจัยไ​ม่ส​ ามารถใ​ช้ก​ ระบวนการส​ ุ่มจ​ ัด​ห้องเรียนใ​หม่​
เพื่อค​ วบคุมต​ ัวแปรแ​ ทรกซ้อน (ความส​ ามารถพ​ ื้นฐ​ านข​ องน​ ักเรียน) ได้ ในก​ รณีน​ ี้ผ​ ู้ว​ ิจัยต​ ้องใ​ช้ว​ ิธีก​ ารค​ วบคุม​
ตัวแปร​แทรกซ้อนด​ ้วยว​ ิธี​การ​ทาง​สถิติ ซึ่ง ANCOVA เป็น​เทคนิคก​ าร​วิเคราะห์​ข้อมูลแ​ บบห​ นึ่งท​ ี่​ใช้ค​ วบคุม​
ตัวแปรแ​ ทรกซ้อน​ได้

       ตัวแปร​แทรกซ้อน​ใน​การ​วิเคราะห์ ANCOVA เรียก​ว่า ตัวแปร​ร่วม (covariate) การ​วิเคราะห์
ANCOVA เป็นการพ​ ยายามข​ จัดต​ ัวแปรร​ ่วมอ​ อกจ​ ากต​ ัวแปรต​ ามโ​ดยใ​ช้เ​ทคนิคก​ ารว​ ิเคราะห์ถ​ ดถอย แล้วน​ ำ�​
ส่วน​ที่เ​หลือ​ของ​ตัวแปร​ตาม​มา​วิเคราะห์​เปรียบ​เทียบ​ความ​แตก​ต่าง​ระหว่าง​ค่า​เฉลี่ย​โดย​ใช้​เทคนิค ANOVA
ผล​ของ​การ​วิเคราะห์​จะ​ตอบ​ได้​ว่า หลัง​จาก​ขจัด​อิทธิพล​ของ​ตัวแปร​ร่วม​ออก​แล้ว ค่า​เฉลี่ย​ของ​ตัวแปร​ตาม​มี​
ความ​แตก​ต่าง​กัน​ระหว่าง​กลุ่ม​ของ​ตัวแปร​อิสระ​หรือ​ไม่ การ​วิเคราะห์​ความ​แปรปรวน​ร่วม มี​ลักษณะ​คำ�ถาม​
วิจัย หลัก​และ​วิธี​การว​ ิเคราะห์ และ​การนำ�​เสนอ​ผลก​ าร​วิเคราะห์ ดังนี้

            3.3.1	 ลกั ษณะค​ ำ�ถาม​วิจยั
                 - 	ใน​การ​เปรียบ​เทียบ​วิธี​สอน 2 วิธี ที่​ผู้​วิจัย​ไม่​สามารถ​ใช้​กระบวนการ​สุ่ม​เพื่อ​จัด​ให้​

กลุ่มท​ ดลองท​ ั้ง 2 กลุ่มม​ ีค​ วาม​เท่าเ​ทียม​กันไ​ด้ ตัวแปร​แทรกซ้อนใ​น​การว​ ิจัย​ครั้งน​ ี้​คือ พื้นฐ​ านข​ องน​ ักเรียน​ที่​
แตก​ต่าง​กัน ก่อน​ทดลอง​ผู้​วิจัย​ควร​ทำ� Pretest เพื่อ​วัด​พื้น​ฐาน​ของ​นักเรียน​ทั้ง​สาม​กลุ่ม แล้ว​นำ� Pretest
ไป​เป็น​ตัวแปร​ร่วม ผลก​ าร​วิเคราะห์​ด้วยเ​ทคนิค ANCOVA จะ​ได้ว​ ่า​เมื่อข​ จัด​อิทธิพล​ของพ​ ื้นฐ​ าน (Pretest)
ออก​แล้ว ค่า​เฉลี่ย​ของผ​ ล​สัมฤทธิ์​ของ​กลุ่ม​ตัวอย่าง​จะ​ต่าง​กันห​ รือไ​ม่
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66