Page 67 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 4
P. 67
การออกแบบการวิจัย 4-57
3.3 การกำ�หนดกลุ่มตัวอย่างสำ�หรับการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยสองกลุ่มที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน การ
เลือกกลุ่มตัวอย่างต้องเริ่มต้นจากการคำ�นวณขนาดอิทธิพล (effect size: d) จากสูตร
d = (μ1 — μ2)
σx1-x2
คะแนน ซเมึ่งคื่อำ�นμว1ณ—จμาก2 แทน ความต่างของค่าเฉลี่ย σx1-x2 แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผลต่างของ
σx1-x2 = σ 2(1 — ρ)
เมื่อ ρ คือ ความสัมพันธ์ของ X1 และ X2 และการคำ�นวณกลุ่มตัวอย่างจากสูตรต่อไปนี้
และ n = δ2
d
3.4 การกำ�หนดกลุ่มตัวอย่างสำ�หรับการวิเคราะห์ความแปรปรวน การคำ�นวณกลุ่มตัวอย่าง
สำ�หรับการทดลองที่มีการวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) อาศัยหลักการเดียวกันคือ การใช้ขนาด
อิทธิพล และอำ�นาจของการทดสอบ แต่ขนาดอิทธิพลจะคำ�นวณจาก ω2 (omega square) เช่น ω2 ของ
ทรีตเมนต์ A คำ�นวณจาก สูตร ωA2 = SSSAS—Td+fAM(MSASA) ซึ่งปริมาณดังกล่าวนี้หาได้จากตารางผลการ
วิเคราะหค์ วามแปรปรวนจากโปรแกรม SPSS
การคำ�นวณขนาดอิทธิพลจะต้องคำ�นวณ ƒ จาก ω2 แล้วเปิดตารางหากลุ่มตัวอย่างดังขั้นตอน
ต่อไปนี้
1. คำ�นวณ ƒ จากสูตร ƒ = ω2
1 — ω2
2. นำ�ค่า ƒ ไปเปิดตารางของ Cohen (1988) เพื่อหาขนาดกลุ่มตัวอย่าง แต่ตารางของ Cohen
มีขนาดใหญ่ ตัวอย่างที่นำ�มาเสนอในตาราง 4.7 คือ ตารางอำ�นาจของการทดสอบของสถิติ F ที่ α = .05
และจำ�นวนองศาความเป็นอิสระ = 6
ตัวอย่าง นักวิจัยต้องการทำ�การทดลองที่มีตัวแปรอิสระ 3 ตัว (3-way interaction) คือ เพศ (ชาย
หญิง) การศึกษา (ตรี โท เอก) ประสบการณ์การทำ�งาน (< 5 ปี, 5-10 ปี, 11-15 ปี และ > 15 ปี) และคิดว่า
มี ω2 อย่างน้อย = .06 (ขนาดอิทธิพลขนาดปานกลาง) และอำ�นาจของการทดสอบ = .80
ƒ= (0.06)2 = .25
1 — (0.06)2