Page 13 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 13
วิวัฒนาการข องการปฐมวัยศ ึกษา 1-3
3. การป ฐมวัยศ ึกษาข องประเทศไทยร ะยะก ่อนไดร้ ับอ ิทธิพลต ะวันต ก เป็นการจ ัดอ ย่างไม่มี
ระบบ ต่อมาระยะหลังได้รับอิทธิพลตะวันตก ซึ่งเริ่มในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ-
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เริ่มมีการจัดในระบบโรงเรียน และได้มีการพัฒนามาอย่าง
ต ่อเนื่องโดยได้ร ับค วามร ่วมม ือจ ากห น่วยง านท ั้งข องร ัฐแ ละเอกชน ในก ารจ ัดการป ฐมวัย
ศึกษาให้เป็นไปตามนโยบายแ ละแ ผนพ ัฒนาเด็กของรัฐบาล เพื่อช ่วยเตรียมค วามพร้อม
และส่งเสริมพ ัฒนาการทุกด ้านให้แ ก่เด็กปฐมวัย
วัตถปุ ระสงค์
1. เมื่อศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการปฐมวัยศึกษาแล้ว นักศึกษาสามารถอภิปรายและสรุป
ความห มาย ความสำ�คัญ และลักษณะของก ารจัดการป ฐมวัยศ ึกษาได้
2. เมื่อศ ึกษาประวัตคิ วามเป็นม าข องก ารป ฐมวัยศ ึกษาในต ่างป ระเทศแล้ว นักศึกษาสามารถ
อภิปรายแ นวคิดเกี่ยวก ับจ ุดเริ่มต ้นแ ละร ะยะพ ัฒนาข องก ารป ฐมวัยศ ึกษาในต ่างป ระเทศ
รวมทั้งวิเคราะห์ และสรุปประเด็นสำ�คัญในการจัดการปฐมวัยศึกษาของต่างประเทศใน
ปัจจุบันได้
3. เมื่อศ กึ ษาประวัตคิ วามเป็นม าข องก ารป ฐมวัยศ กึ ษาข องป ระเทศไทยในร ะยะก ่อนแ ละหลงั
ได้รับอิทธิพลทางตะวันตกแล้ว นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และเปรียบเทียบการจัดการ
ปฐมวัยศึกษาของป ระเทศไทยได้
4. เมื่อศึกษาการปฐมวัยศึกษาของประเทศไทยในปัจจุบันแล้ว นักศึกษาสามารถวิเคราะห์
สภาพการจัดการปฐมวัยศึกษาของประเทศไทยที่กำ�หนดให้ พร้อมทั้งเสนอแนวทาง
พัฒนาการปฐมวัยศึกษาในอนาคตไ ด้