Page 15 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 15
วิวัฒนาการข องก ารป ฐมวัยศ ึกษา 1-5
เร่อื งท ี่ 1.1.1 ความหมายและความส �ำ คญั ข องการป ฐมวยั ศ กึ ษา
นักการศึกษาและนักจิตวิทยามีความคิดเห็นสอดคล้องกันว่า การพัฒนาบุคคลให้มีคุณภาพนั้น
เป็นผลจากการส่งเสริมพัฒนาการตั้งแต่ปฐมวัย ทั้งนี้เนื่องจากเด็กปฐมวัยสามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้อย่าง
รวดเร็ว ดังนั้นการอบรมเลี้ยงดูและประสบการณ์ต่างๆ ที่ได้รับในช่วงนี้ จะส่งผลต่อพัฒนาการด้านต่างๆ
ของเด็กไปจ นตลอดช ีวิต
การจัดการศึกษาและการจัดบริการต่างๆ ให้แก่เด็กปฐมวัย จึงเป็นเรื่องที่นักการศึกษาและนัก-
จติ วทิ ยาไดใ้ หค้ วามส นใจ ศกึ ษาค น้ ควา้ ก นั อ ยา่ งต อ่ เนือ่ งม าเปน็ เวลาน าน และในป จั จบุ นั น ไี้ ดม้ ที ัง้ น กั การศ กึ ษา
นักจ ิตวิทยา รวมท ั้งห น่วยง านอ งค์กรต ่างๆ ทั้งข องร ัฐแ ละเอกชนได้ให้ค วามส ำ�คัญต ่อก ารจ ัดการศ ึกษาร ะดับ
ปฐมวัยศึกษา และให้บริการแ ก่เด็กป ฐมวัยมากข ึ้น ซึ่งแนวค วามค ิดน ี้ได้เป็นท ี่ย อมรับก ันท ั่วโลก
สำ�หรับการจัดการศึกษาและให้บริการต่างๆ แก่เด็กปฐมวัย มีวิวัฒนาการมาตามลำ�ดับตั้งแต่การ
จัดอย่างไม่มีระบบ และพัฒนาเรื่อยมาสู่การจัดที่สอดคล้องกับหลักการและแนวคิดของสากลที่ปรากฏใน
ปัจจุบัน
เนื่องจากก ารจ ัดการศ ึกษาแ ละก ารใหบ้ ริการแ กเ่ด็กป ฐมวัยในป ัจจุบันม รี ูปแ บบก ารจ ัดท ีห่ ลากห ลาย
และด้วยวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน จึงมีการเรียกชื่อต่างกัน รวมทั้งมีวิธีดำ�เนินการและหลักเกณฑ์การรับ
เด็กที่มีอายุต่างกัน ดังนั้นเพื่อให้มีความเข้าใจตรงกัน ในเรื่องนี้จึงจะกล่าวถึงประเด็นที่สำ�คัญ 2 ประการ
คือ ความห มายข องก ารป ฐมวัยศ ึกษา และค วามส ำ�คัญข องก ารป ฐมวัยศ ึกษา ซึ่งแ ต่ละป ระเด็นม ีร ายล ะเอียด
ดังต ่อไปนี้
1. ความห มายข องการปฐมวยั ศึกษา
ก่อนที่จะอธิบายความหมายของการปฐมวัยศึกษา ผู้เขียนจะขอกล่าวถึงความหมายของคำ�ว่า
“เดก็ ป ฐมวัย” ก่อนเพื่อใหเ้ ขา้ ใจต รงก ัน ซึง่ น กั ว ชิ าการท างการป ฐมวยั ศ กึ ษาไดก้ �ำ หนดช ่วงอ ายขุ องเดก็ ป ฐมวยั
ไว้แตกต ่างกัน
1.1 ความหมายของเด็กปฐมวัย คำ�ว่า “เด็กปฐมวัย” มีชื่อเรียกแตกต่างกัน เช่น เด็กวัยก่อน
ประถมศึกษา เด็กเล็ก เด็กอนุบาล ฯลฯ แต่ช ุดวิชานี้ใช้ค ำ�ว่า “เด็กป ฐมวัย” ซึ่งนักจิตวิทยาพ ัฒนาการได้แ บ่ง
ช่วงช ีวิตม นุษย์ออกเป็นวัยต ่างๆ แต่ก ารก ำ�หนดช ่วงอายุและการเรียกชื่อวัยข องน ักจิตวิทยาอาจแตกต ่างก ัน
ไปบ้าง โดยท ั่วไปจ ะม ีค วามแ ตกต ่างกันประมาณ 2 ปี เช่น ช่วงปฐมวัยเป็นวัยระหว่าง 0-6 ปี หรือระหว่าง
0-8 ปี เป็นต้น สำ�หรับในที่นี้จะกล่าวถึงการแบ่งวัยในช่วงระยะปฐมวัย ซึ่งเป็นระยะตั้งแต่แรกเกิดจนถึง
6 ปี ในช่วงร ะยะป ฐมวัยดังกล่าวม ีชื่อเรียกต ่างๆ กัน ดังนี้