Page 19 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 19
วิวัฒนาการของการปฐมวัยศึกษา 1-9
จากคุณลักษณะที่พึงประสงค์ดังกล่าว จุดเน้นที่ควรเป็นลักษณะเด่นของเด็กปฐมวัยของไทย ซึ่ง
ควรช่วยกันพ ัฒนาให้เป็นเอกลักษณ์ข องเด็กไทยค ือ
“เด็กด ีมีศีลธรรม กล้าค ิดกล้าท ำ�กล้าถาม
งดงามม ารยาท รักสะอาดแ จ่มใส มีน ํ้าใจเพื่อส่วนรวม”
การพ ฒั นาค ณุ ลกั ษณะด งั ก ลา่ ว ควรไดร้ บั ก ารป ลกู ฝ งั ต ัง้ แตย่ งั เยาว์ และส ถาบนั ท างส งั คมท กุ ส ถาบนั
ควรต ้องร่วมม ือกันป ลูกฝังแ ละพ ัฒนาค ุณลักษณะเหล่านี้แ ก่เด็กปฐมวัย เพื่อที่จ ะได้เติบโตเป็นก ำ�ลังสำ�คัญ
ของส ังคมแ ละป ระเทศช าติต ่อไป
2.3 ความส �ำ คญั ต อ่ ก ระบวนการจดั การศ กึ ษา พีอ าเจต์ (Piaget อ้างถ ึงใน สมร ทองด ี และสุกัญญา
กาญจ นกิจ 2552: 13) ผู้พัฒนาทฤษฎีทางส ติปัญญาท ี่แพร่หลายท ี่สุด กล่าวว่า เด็กในช่วงอ ายุ 2-6 ปี เป็น
ช่วงวัยที่เด็กเรียนรู้ภาษาพูดและสามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้ดีขึ้น แต่ความสามารถในการเรียนรู้ยังอยู่ใน
ลักษณะจำ�กัด ดังนั้น เด็กในวัยนี้จึงจำ�เป็นต้องฝึกทักษะการใช้ประสาทสัมผัส ซึ่งการจัดสภาพแวดล้อม
และประสบการณ์ท ี่เหมาะส ม จะช่วยเสริมส ร้างพ ัฒนาการด ้านก ารคิด และการเรียนร ู้เพื่อพัฒนาโครงสร้าง
ทางสติปัญญาในข ั้นต่อไปให้สมบูรณ์ย ิ่งขึ้น
การจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยศึกษา ถึงแม้จะไม่เป็นการศึกษาภาคบังคับ แต่ก็เป็นการจัดการ
ศึกษาให้แก่เด็กในระยะแรก ที่มุ่งพัฒนาเด็กทุกด้านอย่างครอบคลุม ได้แก่ การส่งเสริมพัฒนาการด้าน
ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา รวมทั้งพัฒนาคุณธรรมและเสริมสร้างบุคลิกภาพท ี่เหมาะสม
เพื่อเป็นพื้นฐานไปสู่การดำ�รงชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุข และมีความพร้อมในการเรียนรู้ขั้นต่อไปได้ตาม
ศักยภาพแห่งตน
กระบวนการศ ึกษาของม นุษย์ เป็นกร ะบวนการท ี่ต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่องต ลอดชีวิต เพราะมนุษย์
จำ�เป็นต ้องเรียนร ู้ เพื่อพ ัฒนาค ุณภาพช ีวิตข องต นอ ยู่เสมอ ดังน ั้น การส ่งเสริมให้เด็กเรียนร ู้ด ้วยก ระบวนการ
เรียนรู้ต่างๆ จะช่วยส่งเสริมให้เด็กสามารถพัฒนาตนเองไปตามศักยภาพของตนอย่างต่อเนื่อง การเรียนรู้
จะเกิดขึ้นได้ทุกแห่ง ไม่ใช่เฉพาะในห้องเรียนเท่านั้น เด็กสามารถเรียนรู้จากประสบการณ์ในชีวิตประจำ�วัน
และจากการสอนอย่างเป็นทางการ ดังนั้น การจัดการศึกษาสำ�หรับเด็ก จึงควรจัดอย่างสอดคล้องและ
ต่อเนื่องก ันท ุกร ะดับ และก ารปฐมวัยศึกษา คือจ ุดเริ่มต้นที่สำ�คัญข องกระบวนการศ ึกษาข องมนุษย์
2.4 ความส �ำ คญั ต อ่ ก ารว างร ากฐานในก ารพ ฒั นาป ระเทศ ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารส ภาก ารศ กึ ษา (2550:
7-9, 2551: ง) ได้ร ะบุถ ึงความสำ�คัญข องก ารพัฒนาเด็กป ฐมวัยไว้ว ่า
การพ ัฒนาม นุษย์อ ย่างม ีป ระสิทธิภาพจ ำ�เป็นต ้องเริ่มต ั้งแต่ป ฏิสนธิ โดยเฉพาะในช ่วงป ฐมวัย
ซึ่งเป็นรากฐานของก ารพัฒนาท ั้งปวง เป็นการพ ัฒนาคุณภาพม นุษย์ที่ยั่งยืน และป้องกันปัญหาส ังคม
ในร ะยะย าว การพ ัฒนาเด็กป ฐมวัยจ ึงเป็นเรื่องท ี่ม ีค วามส ำ�คัญอ ย่างม ากในก ารเตร ีย มค วามพ ร้อมเพื่อ
พัฒนาคนไทยท ี่มีคุณภาพ ซึ่งจะส ่งผ ลต ่ออ นาคตของประเทศชาติ เนื่องจากมีผ ลต ่อค วามเจริญเติบโต
ทั้งทางด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา โดยเฉพาะเด็กในวัยแรกเกิด