Page 18 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 18
1-8 หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
อีริคสัน (Erikson) มีความเห็นสอดคล้องกับฟรอยด์เช่นกัน อีริคสันชี้ให้เห็นว่า เด็กอายุระหว่าง
3-6 ปี จะเริ่มพัฒนาความสามารถพร้อมๆ กับความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และต้องการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
ดังนั้น ถ้าเด็กในวัยนี้ได้รับการส่งเสริมอย่างถูกต้องเหมาะสม ก็ย่อมจะส่งผลให้เด็กเติบโตเป็นทรัพยากร
ที่มีคุณค่าของสังคม
ฮาวิกเฮอร์สท์ (Havighurst) กล่าวว่า บุคคลแ ต่ละวัยจะพ ัฒนาไปต ามข ั้นจากวัยเด็กจนถึงวัยช รา
ซึ่งเรียกว่า งานตามขั้นพ ัฒนาการ (Developmental Tasks) งานตามข ั้นพัฒนาการ หมายถ ึง งานท ี่บ ุคคล
แต่ละวัยสามารถเรียนรู้ได้เป็นปกติธรรมดา เมื่อได้รับการส่งเสริมในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม และได้ยํ้าว่า
ถา้ เดก็ ร ูจ้ กั ป รบั ต วั แ ละป ระสบค วามส �ำ เรจ็ ในง านพ ฒั นาการต ัง้ แตป่ ฐมวยั เดก็ ก จ็ ะม คี วามส ขุ แ ละน �ำ ไปส คู่ วาม
ส�ำ เรจ็ ในง านพ ฒั นาการข ัน้ ส งู ในว ยั ต อ่ ไปได้ ในท างต รงก นั ข า้ ม ถา้ เดก็ ป ระสบค วามล ม้ เหลวในก ารเรยี นร ตู้ ัง้ แต่
ปฐมวัย เด็กย่อมจะประสบปัญหาในก ารเรียนร ู้ร ะยะต่อม าด ้วย ดังน ั้น ถ้าเด็กปฐมวัยได้ร ับก ารส ่งเสริมแ ละ
พัฒนาให้เหมาะส มก ับข ั้นพ ัฒนาการ ย่อมเป็นการส ่งเสริมแ ละพัฒนาท รัพยากรม นุษย์ให้เติบโตเป็นบ ุคคลที่
มีคุณภาพข องสังคมและป ระเทศช าติ
2.2 ความสำ�คัญต่อการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ นักจิตวิทยาหลายท่านมีความเห็น
สอดคล้องก ันว ่า ช่วงว ิกฤตของช ีวิตในร ะยะ 5 ปแี รก เป็นร ะยะส ำ�คัญในก ารว างร ากฐานบ ุคลิกภาพข องม นุษย์
ดังนั้น การพัฒนาคุณภาพของประชากร จึงจำ�เป็นต้องเริ่มพัฒนาตั้งแต่ระยะปฐมวัย เพื่อให้เติบโตขึ้นเป็น
บุคคลท ี่มีค ุณภาพและมีคุณลักษณะที่พ ึงป ระสงค์ข องสังคมแ ละประเทศชาติ
ทิศนา แขมมณี และคณะ (2535: 125-126) ได้กำ�หนดคุณลักษณะท ี่พึงประสงค์ของเด็กปฐมวัย
อันเป็นเป้าหมายของการพัฒนาเด็กไทย โดยอาศัยข้อมูลจากหลักการทางพระพุทธศาสนา ทางวัฒนธรรม
ไทย ทางหลักการป ฐมวัยศ ึกษา และข้อมูลเกี่ยวก ับส ภาพป ัญหา ความต้องการของเด็กไทยแ ละส ังคม และ
ได้ก ำ�หนดคุณลักษณะของเด็กไทยท ี่ต้องการในอนาคตไว้ ดังนี้
1) พัฒนาการทางด้านร่างกาย เป็นผู้มีสุขภาพดี มีสุขนิสัยที่ดี รักความสะอาด มีอัตราการ
เจริญเติบโตอย่างเหมาะส มต ามวัย
2) พัฒนาการท างด ้านส ตปิ ัญญา เป็นผ ูม้ คี วามใฝร่ ู้ สามารถค ิด กล้าค ิด กล้าถ าม กล้าท ำ� รู้จัก
แสวงหาความร ู้แ ละเรียนร ู้ด ้วยตนเอง สามารถแก้ป ัญหาและมีความค ิดร ิเริ่มสร้างสรรค์
3) พัฒนาการท างด้านคุณธรรม เป็นผู้มีการปฏิบัติดีตามโอวาท 3 ของพ ระพุทธศ าสนา คือ
เว้นช ั่ว ทำ�ดี และฝ ึกจิตให้ผ ่องใส และม ีคุณธรรมต่างๆ ได้แก่ มีวินัย กตัญญู เมตตาก รุณา
4) พฒั นาการท างด า้ นบ คุ ลกิ ภาพ เป็นผ มู้ คี วามร า่ เรงิ แ จ่มใส เปน็ ม ติ รต อ่ ผ อู้ ืน่ มกี ริ ยิ าม ารยาท
แบบไทยท ั้งก าย วาจา ใจ มคี วามเชื่อม ั่นในต นเอง รู้จักพ ึ่งต นเอง มคี วามร ับผ ิดช อบ รู้จักย ืดหยุ่นแ ละว างต น
อย่างเหมาะส มกับสถานการณ์ต ่างๆ
5) พัฒนาการท างด ้านส ังคม เป็นผ ู้ส ามารถเล่นแ ละท ำ�งานร ่วมก ับผ ู้อ ื่นได้ รู้จักเคารพในส ิทธิ
หน้าที่ข องต นเองแ ละผ ู้อ ื่น ปฏิบัติต ามก ฎร ะเบียบข องส ังคม กล้าแ สดงออกอ ย่างเหมาะส มก ับก าลเทศะ เห็น
คุณค่าในศ ิลปะและว ัฒนธรรมข องช าติ รู้จักร ักษาแ ละใช้ทรัพยากรธรรมชาติแ ละส ิ่งแ วดล้อม