Page 16 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 16

1-6 หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา

            1)	อายุ แรก​เกิด-1 ปี เรียกว​ ่า วัย​ทารก
            2)	อายุ 1-3 ปี เรียก​ว่า วัย​เตาะแตะ
            3)	อายุ 3-6 ปี เรียก​ว่า วัย​อนุบาล
       นัก​จิตวิทยา​และ​นักการ​ศึกษา​โดย​ทั่วไป กำ�หนด​อายุ​ของ​เด็ก​ปฐมวัย คือ ตั้งแต่​แรก​เกิด จนถึง
6 ปี แต่​สมาคมก​ าร​ปฐมวัย​ศึกษา​แห่ง​ชาติ (The National Association for the Education of Young
Children หรือ​เรียก​ชื่อ​ย่อ​ว่า NAEYC) ของ​ประเทศ​สหรัฐอเมริกา ได้​กำ�หนด​ช่วง​อายุ​ของ​เด็ก​ปฐมวัย​เป็น​
ระยะ​ตั้งแต่​แรก​เกิด จนถึง 8 ปี
       บุษบง ตันติ​วงศ์ (2552: 91) ให้​ความ​หมาย​ของ​เด็ก​ปฐมวัย​ว่า​หมาย​ถึง เด็ก​ตั้งแต่​ระยะ​ปฏิสนธิ​
ถึง​อายุ 5 ปี 11 เดือน ซึ่ง​เป็น​ช่วง​อายุ​ที่​เป็น​รากฐาน​ของ​การ​เจริญ​เติบโต​ทุก​ด้าน โดย​เฉพาะ​ด้าน​สมอง​ซึ่ง​
เติบโตถ​ ึง​ร้อย​ละ 80 ของ​ผู้ใหญ่ ขณะท​ ี่​หลักสูตรก​ าร​ศึกษาป​ ฐมวัย พุทธศักราช 2546 (กรมว​ ิชาการ 2546 ข:
3) กำ�หนด​ความ​หมาย​ของเ​ด็ก​ปฐมวัยว​ ่า​หมาย​ถึง เด็ก​ตั้งแต่​แรกเ​กิดถ​ ึง​อายุ 5 ปี 11 เดือน 29 วัน
       จากท​ ีก่​ ล่าวม​ าจ​ ะเ​ห็นไ​ดว้​ ่า นักจ​ ิตวิทยา นักการศ​ ึกษา รวมถ​ ึงห​ น่วยง​ านห​ รืออ​ งค์กรท​ ีท่​ ำ�งานเ​กี่ยวข้อง​
กับเ​ด็กป​ ฐมวัย ได้ก​ ำ�หนด​ช่วงอ​ ายุข​ องเ​ด็กป​ ฐมวัย​ไว้แ​ ตกต​ ่างก​ ัน แต่ช​ ุดว​ ิชาน​ ี้ก​ ำ�หนดช​ ่วงอ​ ายุข​ องเ​ด็กป​ ฐมวัย​
ไว้ร​ ะหว่าง 3-6 ปี ซึ่ง​เป็น​ช่วง​อายุท​ ี่เ​ด็กอ​ ยู่​ในส​ ถานศ​ ึกษา
       1.2		การ​ปฐมวัย​ศึกษา หรือ​การ​จัดการ​ศึกษา​ระดับ​ปฐมวัย เป็นการ​จัดการ​ศึกษา​ให้​แก่​เด็ก​ก่อน​
การ​ศึกษาภ​ าค​บังคับ ดังน​ ั้น นักการ​ศึกษา บิดาม​ ารดา ผู้ป​ กครอง และ​ประชาชน​โดย​ทั่วไป​จะเ​รียกก​ ารศ​ ึกษา​
ใน​ระดับ​นี้ห​ ลายช​ ื่อ เช่น การจ​ ัดการ​ศึกษาร​ ะดับก​ ่อนป​ ระถมศ​ ึกษา การศ​ ึกษา​ระดับอ​ นุบาล การ​ศึกษา​ระดับ​
ชั้นเ​ด็กเ​ล็ก การ​ศึกษา​ระดับป​ ฐมวัย การศ​ ึกษา​ก่อนว​ ัย​เรียน เป็นต้น
       แนวคิดเ​กี่ยวก​ ับก​ ารจ​ ัดการป​ ฐมวัยศ​ ึกษาไ​ดเ้​ริ่มต​ ้นม​ าต​ ั้งแตป่​ ลายศ​ ตวรรษท​ ี่ 15 โดยเ​ริ่มจ​ ากแ​ นวคิด​
ของโ​ค​เม​นิ​อุส (Comenius) รุส​โซ (Rousseau) และ​เปส​ตาลอส​ ซ​ ี (Pestalozzi) โรงเรียนอ​ นุบาลไ​ด้จ​ ัดต​ ั้งข​ ึ้น​
เป็นแ​ ห่งแ​ รก​ที่​ประเทศ​เยอร​ มน​ ีโ​ดยเ​ฟ​รอเ​บล (Froebel) ต่อม​ าไ​ด้​แพร่​หลายไ​ป​ยังป​ ระเทศ​ต่างๆ ในย​ ุโรป​และ​
สหรัฐอเมริกา หลังจ​ าก​นั้นไ​ด้เ​ผย​แพร่ไ​ป​ทั่ว​โลก รวมถ​ ึง​ประเทศไทย และ​ได้พ​ ัฒนาเ​รื่อย​มาจ​ นถึง​ปัจจุบัน
       เมื่อ​กล่าว​ถึง​คำ�​ว่า “การ​ปฐมวัย​ศึกษา” โดย​ทั่วไป​จะ​คิดถึง​การ​ศึกษา​ที่​จัด​ให้​กับ​เด็ก​ที่​มีอายุ​ตํ่า​กว่า
6 ขวบ ที่​นิยม​เรียก​กัน​ว่า การ​ศึกษา​ระดับ​อนุบาล หรือ​การ​ศึกษา​ก่อน​การ​ศึกษา​ภาค​บังคับ ดัง​นั้น​เพื่อ​ให้​
เข้าใจ​ตรงก​ ัน จะ​ขอ​กล่าว​ถึงค​ วามห​ มาย​ของก​ าร​ปฐมวัย​ศึกษา ซึ่ง​มีผ​ ู้ก​ ล่าว​ไว้อ​ ย่าง​หลากห​ ลาย​ดังนี้
       การ​ปฐมวัย​ศึกษา หมาย​ถึง การ​จัดการ​ศึกษา​ที่​มี​จุด​มุ่ง​หมาย​เพื่อ​ให้​เกิด​การ​เปลี่ยนแปลง​ต่อ​
พัฒนาการ​เด็ก​ตั้งแต่​แรกเ​กิด​ถึง 8 ขวบ การเ​รียน​รู้​ของเ​ด็ก​ใน​ช่วง​วัย​ดังก​ ล่าว ถือเ​ป็นร​ ากฐาน​ของก​ ารเ​รียนร​ ู​้
ต่อไ​ปใ​นอ​ นาคต (Gestwicki, 2007: 3)
       การ​ปฐมวัย​ศึกษา หมาย​ถึง การ​ศึกษา​และ​พัฒนา​เด็ก​ปฐมวัย (0-5 ปี) ให้​ได้​รับ​บริการ​ที่​เหมาะ​สม​
เพื่อ​ให้​เติบโต เรียน​รู้​อย่าง​มี​ความ​สุข และ​พัฒนา​ทุก​ด้าน​อย่าง​สมดุล​ทั้ง​ทาง​ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม
สติ​ปัญญา มี​ความ​คิด​สร้างสรรค์ มี​คุณธรรม จริยธรรม เต็ม​ศักยภาพ​บน​พื้น​ฐาน​ของ​ความ​เป็น​ไทย และ
​มีค​ วามพ​ ร้อมท​ ี่จ​ ะร​ ับก​ ารศ​ ึกษาข​ ั้นพ​ ื้นฐ​ านต​ ่อ​ไป (คณะ​กรรมการ​การศ​ ึกษา​และ​พัฒนา​เด็กป​ ฐมวัย 2543: 3)
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21