Page 17 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 17

วิวัฒนาการ​ของก​ าร​ปฐมวัย​ศึกษา 1-7

       การ​ปฐมวัย​ศึกษา หมาย​ถึง การ​จัดการ​ศึกษา​ใน​ลักษณะ​การ​อบรม​เลี้ยง​ดู​และ​ให้การ​ศึกษา​เพื่อ
​เตรียม​ความ​พร้อม​ให้​เด็ก​แรก​เกิด–5 ปี ก่อน​เข้า​เรียน​ใน​ระดับ​ประถม​ศึกษา (สำ�นัก​วิชาการ​และ​มาตรฐาน​
การศ​ ึกษา 2547: 1)

       การป​ ฐมวัยศ​ ึกษา หมายถ​ ึง การจ​ ัดการศ​ ึกษาใ​หแ้​ กเ่​ด็กป​ ฐมวัยเ​พื่อส​ ่งเ​สริมใ​หเ้​ด็กม​ คี​ วามพ​ ร้อม และ​
พัฒนาท​ ั้งด​ ้านร​ ่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ​สติ​ปัญญา มีบ​ ุคลิกภาพท​ ี่เ​หมาะส​ มต​ าม​วัย และ​พร้อม​ที่จ​ ะ​
รับ​การ​ศึกษา​ใน​ระดับ​ต่อไ​ป (สมร ทองด​ ี และ​สุก​ ัญญา กาญ​จน​กิจ 2552: 6)

       จากท​ ี่ก​ ล่าวม​ าส​ รุปไ​ด้ว​ ่า การป​ ฐมวัยศ​ ึกษา เป็นการจ​ ัดการศ​ ึกษาใ​ห้แ​ ก่เ​ด็กก​ ่อนก​ ารศ​ ึกษาภ​ าคบ​ ังคับ
เพื่อ​สร้าง​เสริม​ให้​เด็ก​มี​ความ​พร้อม​และ​ได้​รับ​การ​พัฒนา​ทั้ง​ด้าน​ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติ​ปัญญา
มี​บุคลิกภาพท​ ี่​เหมาะ​สม​ตาม​วัย และพ​ ร้อมท​ ี่​จะ​ศึกษา​ใน​ระดับ​ที่​สูง​ขึ้น​ต่อไ​ป

2.	 ความส​ �ำ คัญ​ของ​การ​ปฐมวัยศ​ กึ ษา

       ใน​ปัจจุบัน​รัฐบาลได้​ให้​ความ​สำ�คัญ​ต่อ​การ​ปฐมวัย​ศึกษา​มาก​ขึ้น​ทุก​ขณะ ดัง​ปราก​ฏ​ให้​เห็น​ใน​
พระร​ าชบ​ ัญญัติก​ าร​ศึกษาแ​ ห่งช​ าติ พ.ศ. 2542 และ​ที่แ​ ก้ไขเ​พิ่มเ​ติม (ฉบับ​ที่ 2) พ.ศ. 2545 (กรม​วิชาการ 2546
ก: 11-12) ใน​มาตรา 18 ที่​กำ�หนด​ให้​มี​การจ​ ัดการ​ปฐมวัย​ศึกษาใ​น​สถาน​พัฒนา​เด็ก​ปฐมวัยท​ ี่อ​ าจม​ ีชื่อเ​รียกท​ ี่​
แตก​ต่าง​กัน​ใน​โรงเรียน และ​ใน​ศูนย์​การ​เรียน และ​ใน​ข้อ​เสนอ​การ​ปฏิรูป​การ​ศึกษา​ใน​ทศวรรษ​ที่​สอง (พ.ศ.
2552-2556) (สำ�นักงาน​เลขาธิการ​สภาก​ ารศ​ ึกษา 2552: 41) ได้ก​ ำ�หนด​เป้าห​ มาย ปี 2561 “ให้เ​ด็กก​ ่อนว​ ัยเ​รียน​
ได้ร​ ับก​ ารพ​ ัฒนาแ​ ละเ​ตรียมค​ วามพ​ ร้อมใ​ห้ส​ ามารถเ​รียนร​ ู้แ​ ละม​ ีพ​ ัฒนาการต​ ามว​ ัย มีค​ วามพ​ ร้อมศ​ ึกษาเ​รียนร​ ู​้
ในร​ ะดับส​ ูงข​ ึ้น” โดยก​ ำ�หนดก​ รอบแ​ นวทางก​ ารป​ ฏิรูปก​ ารศ​ ึกษาแ​ ละเ​รียนร​ ูอ้​ ย่างเ​ป็นร​ ะบบ เพื่อพ​ ัฒนาค​ ุณภาพ​
คนไ​ทยย​ ุคใ​หม่ ใหม้​ นี​ ิสัยใ​ฝเ่​รียนร​ ูต้​ ั้งแตป่​ ฐมวัย สามารถเ​รียนร​ ูด้​ ้วยต​ นเอง และแ​ สวงหาค​ วามร​ ูอ้​ ย่างต​ ่อเ​นื่อง​
ตลอด​ชีวิต สามารถ​สื่อสาร คิด​วิเคราะห์ แก้​ปัญหา ริเริ่ม​สร้างสรรค์ มีจ​ ิต​สาธารณะ มี​ระเบียบ​วินัย คำ�นึง​ถึง​
ประโยชน์ส​ ่วน​รวม ทำ�งานเ​ป็นก​ลุ่มไ​ด้ มี​ศีลธ​ รรม คุณธรรม จริยธรรม ค่าน​ ิยม จิตสำ�นึกแ​ ละภ​ ูมิใจใ​นค​ วาม​
เป็น​ไทย ก้าว​ทันโ​ลก เป็น​กำ�ลังค​ น​ที่ม​ ีค​ ุณภาพ มี​ทักษะ​ความ​รู้พ​ ื้น​ฐานท​ ี่​จำ�เป็น สมรรถนะ ความร​ ู้ สามารถ​
ทำ�งาน​มี​ประสิทธิภาพ มีโ​อกาส​เรียนร​ ู้​อย่างเ​ท่า​เทียม เสมอภ​ าค

       นอกจาก​นี้ นักการศ​ ึกษาแ​ ละ​นักจ​ ิตวิทยา​ยังใ​ห้ค​ วาม​สำ�คัญก​ ับ​การป​ ฐมวัยศ​ ึกษา ซึ่ง​สามารถส​ รุป​ได้​
ดังนี้

       2.1		ความส​ �ำ คญั ต​ อ่ ก​ ารพ​ ฒั นาท​ รพั ยากรม​ นษุ ย ์   นกั จ​ ติ วทิ ยาแ​ ละน​ กั การศ​ กึ ษาห​ ลายท​ า่ นม​ ค​ี วามเ​หน็ ​
สอดคล้อง​กันว​ ่า เด็ก​ปฐมวัย เป็น​วัย​เริ่มต​ ้นข​ องช​ ีวิตม​ นุษย์ และ​นับ​เป็น​ช่วง​วัย​ที่​สำ�คัญท​ ี่สุดช​ ่วง​หนึ่ง เพราะ​
เปน็ ช​ ว่ งว​ ยั ข​ องก​ ารว​ างร​ ากฐานแ​ ละเ​ตรยี มต​ วั เ​พือ่ ช​ วี ติ ทัง้ ย​ งั เ​ปน็ ช​ ว่ งร​ ะยะท​ เี​่ กดิ ก​ ารเ​รยี นร​ ูม้ ากท​ ีส่ ดุ ใ​นช​ วี ติ ด​ ว้ ย
ดัง​ที่ สมร ทองด​ ี และ​สุก​ ัญญา กาญจ​ นก​ ิจ (2552: 11-12) ได้​ยก​ตัวอย่าง​แนวคิดข​ องน​ ัก​จิตวิทยา​ไว้​ดังนี้

       ฟ​รอย​ด์ (Freud) อธิบายว​ ่า วัย​เริ่มต​ ้น​ของช​ ีวิต​มนุษย์ คือ ระยะ 5 ปี​แรก ประสบการณ์ต​ ่างๆ ที่​ได​้
รับ​ใน​ช่วงน​ ี้​จะ​มี​อิทธิพล​ต่อ​ชีวิต​ของ​บุคคลน​ ั้นจ​ นช​ ั่วช​ ีวิต
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22