Page 109 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 109

กระบวนการ​ดำ�รง​ชีวิต 2-99

เรือ่ งท​ ี่ 2.3.3 การ​เจริญ​เตบิ โตข​ อง​พืช*

       การ​ศึกษา​การ​เจริญ​เติบโต​ของ​พืช​จะ​กล่าว​ถึง การ​เจริญ​เติบโต​ของ​พืช​ไม่มี​เนื้อเยื่อ​ลำ�เลียง ได้แก่
สาหร่าย และไ​บรโ​อไ​ฟต์ และก​ ารเ​จริญเ​ติบโตข​ องพ​ ืชม​ ีเ​นื้อเยื่อล​ ำ�เลียง ได้แก่ การเ​จริญข​ องเ​อ็มบริโอใ​นเ​มล็ด​
การ​งอก​ของ​เมล็ด​และ​การ​เจริญ​ของ​ต้น​กล้า การ​เจริญ​เติบโต​ขั้น​ต้น​ของ​พืช และ​การ​เจริญ​เติบโต​ขั้น​ที่​สอง​
ของ​พืช

1. 	การ​เจริญ​เตบิ โต​ของพ​ ืช​ไมม่ เ​ี นือ้ เยอ่ื ล​ ำ�เลียง

       1.1 	การ​เจริญ​เติบโต​ของ​สาหร่าย  สาหร่าย​เป็น​สิ่ง​มี​ชีวิต​หลาย​เซลล์​ซึ่ง​ยัง​ไม่มี​การ​เปลี่ยนแปลง​
รูปร​ ่างข​ องเ​ซลลเ์​พื่อไ​ปท​ ำ�ห​ น้าทีเ่​ฉพาะ สาหร่ายส​ ่วนใ​หญม่​ รี​ ูปร​ ่างเ​ป็นส​ าย เป็นกล​ ุ่ม หรือเ​ป็นแ​ ผ่นแ​ บนๆ เซลล​์
บางเ​ซลลซ์​ ึง่ ท​ �ำ ห​ น้าทีเ​่ ปน็ เ​ซลลส​์ บื พันธจุ์​ ะม​ ลี​ กั ษณะแ​ ปลกอ​ อกไ​ปใ​นส​ าหร่ายบ​ างช​ นดิ สาหรา่ ยส​ ามารถส​ บื พันธ​ุ์
ได้​ทั้ง​แบบ​อาศัย​เพศ​และ​แบบ​ไม่​อาศัย​เพศ เมื่อ​มี​การ​สืบพันธุ์​แบบ​อาศัย​เพศ​เกิด​ขึ้น​หลัง​จาก​ปฏิสนธิ​แล้ว​
ไซ​โกต​ของ​สาหร่าย​ทุก​ชนิด​จะ​เจริญ​ต่อ​ไป​โดย​การ​แบ่ง​เซลล์​และ​เพิ่ม​ขนาด​ของ​เซลล์​แต่​ไม่มี​ระยะ​ที่​เป็น​
เอ็มบริโอเ​หมือนใ​นพ​ ืชชั้นสูง สาหร่ายบ​ าง​ชนิด เช่น สาหร่ายส​ ีน​ ํ้าตาล มีก​ าร​เจริญ​ของโ​ครงสร้าง​คล้าย​อวัยวะ​
ของ​พืชชั้นสูง เช่น มี​โครงสร้าง​ลักษณะ​คล้ายร​ าก คล้าย​ลำ�ต้น และค​ ล้ายใ​บ ซึ่ง​เป็น​เซลล์​พาเรงคิม​ าเ​หมือน​
กัน​หมด แสดง​ถึง​การ​เปลี่ยนแปลง​ใน​แง่​หน้าที่​เท่านั้น นอกจาก​นี้ ใน​สาหร่าย​ทะเล​สี​นํ้าตาล​ขนาด​ใหญ่​จะ​มี​
ลักษณะค​ ล้าย​เนื้อเยื่อ​ลำ�เลียงข​ องพ​ ืชชั้นสูง

       1.2 การ​เจริญ​เติบโต​ของ​พวก​ไบร​โอ​ไฟต์ ไบร​โอ​ไฟต์​เป็น​พืช​ที่​ยัง​ไม่มี​เนื้อเยื่อ​ลำ�เลียง ตัวอย่าง​เช่น
มอส ลิ​เวอร์​เวิร์ต โครงสร้าง​ของ​พืช​มี​ทั้ง​แก​มี​โท​ไฟต์​และ​ส​ปอ​โร​ไฟต์​ซึ่ง​มี​ขนาด​เล็ก แก​มี​โท​ไฟต์​มี​รูป​ร่าง​ได้​
หลายแ​ บบ เช่น ลิเ​วอร์เ​วิร์ต มี​รูปร​ ่าง​เป็น​แผ่นแ​ บนๆ ติดอ​ ยู่​กับพ​ ื้นด​ ิน ส่วน​มอ​สมีล​ ักษณะ​คล้ายต​ ้น​และใ​บ​
ของ​พืชชั้นสูง แต่​ไม่ใช่​ลำ�ต้น​และ​ใบ​ที่แท้​จริง​ใน​แง่​โครงสร้าง​ภายใน มอ​ส​ยัง​มี​ส่วน​ที่​ยึด​ลำ�ต้น​ให้​ติด​กับ​พื้น​
ดิน เรียก ไรซ​ อยด​ ์ ทำ�ห​ น้าที่​ดูด​นํ้า​และ​สาร​อาหาร​คล้าย​ราก​ซึ่ง​อาจ​เป็นเ​ซลล์เ​ดียวห​ รือ​หลาย​เซลล์ ดัง​นั้น​พืช​
พวกน​ ี้​จึง​มีก​ ลุ่ม​เซลล์ท​ ี่ม​ ีร​ ูปร​ ่างล​ ักษณะ​เหมือน​กัน แต่​แยก​กัน​ไปท​ ำ�ห​ น้าที่เ​ฉพาะค​ ล้ายอ​ วัยวะ การ​เจริญ​ของ​
ไซโ​กตซ​ ึ่งต​ ่อม​ าจ​ ะเ​ป็นต​ ้นส​ ป​ อโ​รไ​ฟต์จ​ ะต​ ้องผ​ ่านร​ ะยะเ​อ็มบริโอค​ ล้ายก​ ับพ​ ืชม​ ีเ​นื้อเยื่อล​ �ำ เลียง แต่ส​ ป​ อโ​รไ​ฟต​์
ของพ​ ืชก​ ลุ่มน​ ี้ต​ ้องต​ ิดอ​ ยู่ก​ ับแ​ กม​ ีโ​ทไ​ฟต์โ​ดยม​ ีโ​ครงสร้างฐ​ านท​ ี่ย​ ึดต​ ิด (foot) สป​ อโ​รไ​ฟต์ม​ ีหน้าท​ ี่ส​ ร้างส​ ป​ อร์ซ​ ึ่ง​
จะเ​จริญไ​ปเ​ป็นแ​ กม​ โี​ทไ​ฟตต์​ ่อไ​ป การด​ ำ�รงช​ วี​ ิตข​ องส​ ป​ อโ​รไ​ฟตต์​ ้องอ​ าศัยอ​ ยูบ่​ นแ​ กม​ โี​ทไ​ฟตต์​ ลอดช​ ีวิต สป​ อร​์
ที่ต​ ้นส​ ป​ อโ​รไ​ฟต์ส​ ร้างข​ ึ้นน​ ี้จ​ ะง​ อกอ​ อกม​ าม​ ีล​ ักษณะเ​ป็นเ​ส้นแ​ ตกแ​ ขนงค​ ล้ายส​ าหร่ายส​ ีเ​ขียว (protonema) ซึ่ง​

         * รวบรวม​และ​เรียบ​เรียง​จาก มาลี​ยา เครือ​ตราชู และศุภ​าภ​รณ์ รัตน​ธรรม (2547) “การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต” ใน
เอกสารการสอนชุดวิชาวิทยาศาสตร์ 4 หน่วยที่ 10 หน้า 173-243 พิมพ์ครั้งที่ 3 นนทบุรี สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย-
สุโขทัยธรรมาธิราช
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114