Page 112 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 112

2-102 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

       เอม็ บรโิ อม​ ก​ี ารแ​ บง่ เ​ซลลต​์ อ่ ไ​ปจ​ นไ​ดเ​้ ปน็ กล​ ุม่ ข​ องเ​ซลลซ​์ ึง่ ต​ อ่ ม​ าม​ ก​ี ารเ​ปลีย่ นแปลง คอื เซลลร​์ อบน​ อก​
(protoderm) ซึ่ง​จะ​เปลี่ยน​เป็น​เซลล์​ที่​ให้​กำ�เนิด​แก่​เนื้อเยื่อ​ผิว (epidermis) เซลล์​เนื้อเยื่อ​พื้น (ground
meristem) ซึ่ง​จะ​เป็น​เซลล์ท​ ี่ใ​ห้ก​ ำ�เนิดแ​ ก่​ชั้น​คอร์​เทกซ์ (cortex) และเ​ซลล์​ชั้น​ในส​ ุด (procambium) ซึ่งจ​ ะ​
เป็น​เซลล์ท​ ี่ใ​ห้​กำ�เนิดแ​ ก่ช​ ั้น​เนื้อเยื่อ​ลำ�เลียง (vascular tissue) กลุ่มเ​ซลล์​เหล่า​นี้​ทั้งหมด​รวม​เรียก​ว่า ​เนื้อเยื่อ​
เจริญ​ขั้น​ต้น (primary meristem)

       การ​เจริญ​ขั้น​ต่อ​มา​ซึ่ง​อาจ​เกิด​ขึ้น​ใน​เวลา​เดียวกัน​กับ​การ​สร้าง​เนื้อเยื่อ​เจริญ​ขั้น​ที่​หนึ่ง​คือ​ การ​สร้าง​
​ใบ​เลี้ยงหลัง​จาก​ระยะ​นี้​การ​เจริญ​เติบโต​ของ​เอ็มบริโอ​ใน​พืช​ใบ​เลี้ยง​เดี่ยว​จะ​แตก​ต่าง​กัน กล่าว​คือ ใน​พืช​ใบ​
เลี้ยงค​ ู่เ​อ็มบริโอซ​ ึ่งม​ ีร​ ูปร​ ่างก​ ลมจ​ ะเ​ปลี่ยนแปลงเ​ป็นเ​อ็มบริโอท​ ี่ม​ ีร​ ูปร​ ่างเ​ป็นร​ ูปห​ ัวใจเ​พราะม​ ีก​ ารส​ ร้างใ​บเ​ลี้ยง
2 ใบ การเ​จริญ​ขั้นต​ ่อม​ าค​ ือเ​อ็มบริโอม​ ีข​ นาดย​ าวข​ ึ้นแ​ ละ​มีก​ ารง​ อต​ ัว​จนก​ ระทั่งใ​บ​เลี้ยง​ขนาน​อยู่ก​ ับแ​ กน​กลาง​
กลายเ​ปน็ เ​อม็ บรโิ อร​ ปู ต​ อรป์ โิ ดห​ รอื ไ​มเ​้ ทา้ ในพ​ ชื ใ​บเ​ลีย้ งเ​ดีย่ วแ​ ทนทเี​่ อม็ บรโิ อจ​ ะม​ ร​ี ปู ร​ า่ งเ​ปน็ ห​ วั ใจก​ ลบั ม​ ร​ี ปู ร​ า่ ง​
เป็นท​ รงก​ ระบอกเ​นื่องจากม​ ีก​ ารส​ ร้างใ​บเ​ลี้ยงเ​พียงใ​บเ​ดียว ต่อจ​ ากน​ ั้นก​ ็จ​ ะม​ ีก​ ารโ​ค้งง​ อต​ ัวข​ องใ​บเ​ลี้ยงเ​กิดข​ ึ้น​
เหมือน​กับพ​ ืช​ใบเ​ลี้ยง​คู่ แต่ใ​บเ​ลี้ยง​ของ​พืช​ใบเ​ลี้ยงเ​ดี่ยวม​ ีข​ นาด​ใหญ่ม​ ากเ​มื่อ​เทียบก​ ับข​ นาด​ของ​เอ็มบริโอ

       ในร​ ะยะต​ น้ ข​ องก​ ารเ​จรญิ ข​ องเ​อม็ บรโิ อจ​ ะม​ ก​ี ารแ​ บง่ เ​ซลลเ​์ กดิ ข​ ึน้ ใ​นท​ กุ ส​ ว่ นข​ องเ​อม็ บรโิ อห​ รอื ตน้ อ​ อ่ น
อย่างไรก​ ็ตาม เมื่อเ​จริญถ​ ึงข​ ั้นห​ นึ่งจ​ ะพ​ บว​ ่า การแ​ บ่งเ​ซลล์ห​ รือก​ ารเ​กิดเ​ซลล์ใ​หม่ๆ นั้น จะเ​กิดใ​นเ​นื้อเยื่อเจริญ​
ส่วน​ปลายข​อง​ลำ�ต้น​และ​ราก​เท่านั้น ใน​พืช​ใบ​เลี้ยง​คู่​เนื้อเยื่อ​เจริญ​ส่วน​ปลาย​จะ​เกิด​ขึ้น​ระหว่าง​ใบ​เลี้ยง​
ทั้ง​สอง ส่วน​ใน​พืช​ใบ​เลี้ยง​เดี่ยว​จะ​พบ​เนื้อเยื่อ​เจริญ​ชนิด​นี้​ที่​ส่วน​ข้าง​ของ​ใบ​เลี้ยง​และ​เนื้อ​เยื่อ​บางๆ หุ้ม​อีก​
ชั้นห​ นึ่ง เนื้อเยื่อเจริญส​ ่วนป​ ลายน​ ีม้​ คี​ วามส​ ำ�คัญม​ ากใ​นก​ ารส​ ร้างเ​ซลลใ์​หม่ๆ เพื่อก​ ารเ​จริญเ​ติบโตข​ องต​ ้นอ​ ่อน​
จากเ​อ็มบริโอ

       ระยะ​เวลา​ที่​เอ็มบริโอ​มี​การ​เจริญ​นี้​เกิด​ขึ้น​ใน​ช่วง​เวลา​ไม่​นาน​นัก ขณะ​หลุด​จาก​ต้น เมล็ด​พืช​มัก​จะ​
แห้ง และ​เอ็มบริโอ​มัก​มี​การ​พัก​ตัว (dormancy) เอ็มบริโอ​อาจ​พัก​ตัว​อยู่​หลาย​เดือน​จนกว่า​สภาพ​แวดล้อม​
จะเ​หมาะ​สมก​ ับ​การง​ อก​ต่อไ​ป

       2.2 การง​ อก​ของเ​มลด็ แ​ ละ​การเ​จริญ​ของ​ต้นก​ ล้า
            2.2.1 ปัจจัย​ควบคุม​การ​งอก​ของ​เมล็ด การ​งอก​ของ​เมล็ด​ขึ้น​อยู่​กับ​ปัจจัย​หลาย​ประการ​ทั้ง​

ภายในเ​อ็มบริโอเ​องแ​ ละ​สภาพแ​ วดล้อมภ​ ายนอก ปัจจัย​สภาพแ​ วดล้อมภ​ ายนอกท​ ี่​สำ�คัญ คือ นํ้า ออกซิเจน
และอ​ ุณหภูมิ โดย​ปกติแ​ ล้วน​ ํ้า​จะเ​ป็นป​ ัจจัยท​ ี่ส​ ำ�คัญท​ ี่สุด

            เมล็ดท​ ี่​มี​เอ็มบริโอ​ที่เ​จริญ​เต็มท​ ี่​แล้วม​ ัก​จะแ​ ห้ง​มาก คือม​ ีน​ ํ้าอ​ ยู่​ประมาณร​ ้อยล​ ะ 5-20 เท่านั้น
ดังน​ ั้น เ​มื่อเ​มล็ดด​ ูดน​ ํ้าเ​ข้าไปก​ ็จ​ ะพ​ องต​ ัวแ​ ละม​ ีแ​ รงด​ ันภ​ ายในเ​มล็ดส​ ูงท​ ำ�ให้เ​ปลือกห​ ุ้มเ​มล็ดแ​ ตกอ​ อก และใ​น​
ขณะเ​ดียวกัน นํ้าก​ ็เ​ข้าไป​อยู่​ในไ​ซโ​ทพ​ ลา​ซึม​ของ​เซลล์ท​ ำ�ให้​อัตรา​ของเ​ม​แทบ​อ​ลิซ​ ึมภ​ ายใน​เซลล์ส​ ูง​ขึ้น ทำ�ให้ม​ ี​
การ​สลาย​ตัว​ของ​อาหารส​ ะสม​ที่จ​ ำ�เป็น​ต่อ​การง​ อก​ของเ​มล็ดไ​ด้ ใน​ระ​ยะต​ ้นๆ ของ​การ​งอก​เมล็ดม​ ีก​ าร​หายใจ​
ระดับเ​ซลลแ์​ บบไ​มใ่​ชอ้​ อกซิเจน แตเ่​มื่อเ​มล็ดด​ ูดน​ ํ้าเ​ข้าไปแ​ ละม​ แี​ รงด​ ันท​ ำ�ใหเ้​ปลือกห​ ่อห​ ุ้มเ​มล็ดแ​ ตกอ​ อกแ​ ล้ว​
เมล็ดก​ ็จ​ ะม​ ีก​ ารห​ ายใจร​ ะดับเ​ซลล์แ​ บบใ​ช้อ​ อกซิเจนท​ ันที ดังน​ ั้น ถ้าด​ ินร​ อบๆ เมล็ดท​ ี่ก​ ำ�ลังจ​ ะง​ อกน​ ั้นม​ ีน​ ํ้าม​ าก​
เกินไ​ปจ​ นม​ ีป​ ริมาณอ​ อกซิเจนไ​ม่เ​พียงพ​ อเ​มล็ดก​ ็ไ​ม่ส​ ามารถจ​ ะง​ อกไ​ด้ โดยท​ ั่วๆไ​ปแ​ ล้ว เมล็ดพ​ ืชส​ ามารถง​ อก​
ได้ใ​นช​ ่วงอ​ ุณหภูมิท​ ี่ย​ าวพ​ อส​ มควร เมื่ออ​ ุณหภูมิต​ ํ่า​เกินไ​ป (0-5 องศา​เซลเซียส) หรือส​ ูงเ​กินไ​ป (45-48 องศา​
เซลเซียส) เมล็ด​ก็จ​ ะไ​ม่​งอก อุณหภูมิ​ที่เ​หมาะ​สมก​ ับก​ ารง​ อก​ของเ​มล็ดม​ ัก​อยู่ใ​นช​ ่วง 25-30 องศาเ​ซลเซียส
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117