Page 116 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 116
2-106 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ไปทำ�หน้าที่ส ังเคราะห์ด้วยแ สงได้โดยมีคลอโรพลาสต์ หรือพ าเรงคิม าส่วนใหญ่ม ีหน้าที่ส ะสมอ าหารเหมือน
กับในร าก
3) เนื้อเย่ือลำ�เลียง ในลำ�ต้นเนื้อเยื่อลำ�เลียงคือ ไซเลมและโฟลเอ็มจะจับกันเป็นกลุ่ม
เรียก มัดเนื้อเยื่อล ำ�เลียง (vascular bundle) การเรียงต ัวข องกลุ่มม ัดเนื้อเยื่อลำ�เลียงในพืชใบเลี้ยงคู่แ ละ
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะแตกต่างกัน กล่าวคือ ในพืชใบเลี้ยงคู่กลุ่มมัดเนื้อเยื่อลำ�เลียงจะเรียงตัวกันเป็นวงกลม
รอบล ำ�ต้น ในข ณะท ีใ่นพ ืชใบเลี้ยงเดี่ยวก ลุ่มม ัดเนื้อเยื่อล ำ�เลียงจ ะก ระจายอ ยูท่ ั่วไปในล ำ�ต้น กลุ่มม ัดเนื้อเยื่อ
ลำ�เลียงน ี้จะม ีเซลล์พ วกส เคลอเรงคิมา (sclerenchyma) หรือเส้นใยห ุ้มอยู่เพื่อให้ความแ ข็งแ รง
4) ชั้นแกนข้างใน แกนข้างในเจริญมาจากเซลล์ชั้นกลางเหมือนกับคอร์เทกซ์ แต่อยู่
ตรงกลางของล ำ�ต้น พบในพืชใบเลี้ยงคู่ ประกอบด้วยเซลล์พาเรงคิมาซ ึ่งมีหน้าท ี่ส ะสมอาหารเป็นส่วนใหญ่
ในลำ�ต้นพืชใบเลี้ยงคู่และพืชใบเลี้ยงเดี่ยวไม่มีชั้นเอนโดเดอร์มิสและเพอริไซเคิลแบบที่พบ
ในราก
2.3.3 การเจรญิ เตบิ โตข องใบ ใบเกดิ จ ากเนือ้ เยือ่ เจรญิ ส ว่ นป ลายเหมอื นก นั ครัง้ แ รกจ ะป รากฏ
เปน็ ป ุม่ เลก็ ๆ หรอื ก ลุม่ เซลลถ์ ดั จ ากป ลายย อดล งม า เรยี กว า่ ปุม่ ใบ (leaf primordium) ซึง่ จ ะเจรญิ เตบิ โตเปน็
ใบพ ืช ส่วนข องล ำ�ต้นท ีใ่บต ิดอ ยูน่ ั้นเรียกว ่า ข้อ (node) และบ ริเวณร ะหว่างข ้อเรียกว ่า ปล้อง (internode) ใน
ซอกข องใบจ ะพ บก ลุ่มเซลล์อ ีกก ลุ่มห นึ่งซ ึ่งม ีก ารแ บ่งเซลล์ต ลอดเวลาเหมือนก ัน ให้ก ำ�เนิดแ ก่ต าข ้าง (lateral
bud) ซึ่งจะเจริญเป็นกิ่งต่อไป
ปุ่มใบที่เจริญขึ้นมาจะมีลักษณะเป็นแท่งทรงกระบอก ประกอบด้วยเซลล์ชั้นเนื้อเยื่อเจริญ
ที่มีการแบ่งตัว คือ ประกอบด้วยเซลล์รอบนอก ซึ่งจะเจริญไปเป็นเนื้อเยื่อผิว เซลล์ชั้นกลางซึ่งจะเจริญ
ไปเป็นส่วนมีโซฟิลล์ (mesophyll) และเซลล์ชั้นในสุดซึ่งจะเจริญไปเป็นเนื้อเยื่อลำ�เลียงซึ่งเป็นส่วนที่เป็น
เส้นใบ (vein)
2.3.4 การเจริญเติบโตของกิ่งและรากแขนง ตาข้างที่อยู่ตรงซอกใบของลำ�ต้นพืชจะเจริญไป
เป็นกิ่ง ซึ่งกิ่งเหล่านี้จะผลิตใบและตาขึ้นมาอีกจากเนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายเหมือนกับลำ�ต้น ตาข้างอาจจะ
เปลี่ยนเป็นตายอดของกิ่งใหม่ได้ การเจริญของตาข้างถูกควบคุมโดยฮอร์โมนออกซิน (auxin) ซึ่งสร้างที่
ปลายย อด ดังนั้นถ้าต ัดยอดออก ตาข้างจ ะเจริญข ึ้นมาเป็นกิ่งใหม่ทำ�ให้พ ืชมีลักษณะเป็นพุ่ม
การส รา้ งร ากแ ขนงข องพ ชื ม วี ธิ กี ารท ซี่ บั ซ อ้ นก วา่ ก ารส รา้ งก ิง่ ม าก ทัง้ นี้ เนือ่ งจากว า่ ร ากส ว่ นใหญ่
ไม่มีตาข้าง รากแขนงจะแตกออกมาจากชั้นเพอริไซเคิล เมื่ออยู่ในสภาพที่เหมาะสมเซลล์ในชั้นเพอริไซเคิล
จะเริม่ แ บง่ ต วั ก ลายเปน็ กล ุม่ เซลลใ์ นร าก และเซลลท์ อี่ ยขู่ า้ งในส ดุ จ ะเริม่ ย ดื ต วั ย าวอ อก ดนั ใหก้ ลุม่ เซลลเ์ จรญิ น ี้
ออกม าข้างนอกโดยผ ่านชั้นเอนโดเดอร์ม ิส คอร์เทกซ์ และเนื้อเยื่อผ ิวลงไปในด ิน เมื่อร ากแขนงแ ตกอ อกม า
แล้วม ีก ารเจริญเติบโตเหมือนก ับรากแก้วทุกประการด ังได้ก ล่าวมาแ ล้ว
ในพ ืชบ างช นิดแ ละพ ืชใบเลี้ยงเดี่ยวท ั่วๆ ไป จะม ีร ากอ ีกช นิดห นึ่งซ ึ่งไม่ได้แ ตกอ อกม าจ ากช ั้น
เพอริไซเคิล แต่แตกออกมาจากส่วนอื่นของพืช เช่น ลำ�ต้นหรือใบ เรียก รากพิเศษ (adventitious root)
ตัวอย่างเช่น รากคํ้าจุนในต้นข้าวโพด หรือรากที่ทำ�หน้าที่เกี่ยวพัน ในพืชบางชนิดรากจะมีการสร้างตาราก
ซึ่งให้ก ำ�เนิดร ากพ ิเศษเหมือนก ัน