Page 115 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 115
กระบวนการดำ�รงช ีวิต 2-105
ชั้นเอนโดเดอ ร์มิสแล้วจ ะไม่สามารถซึมออกม าได้ และนํ้าจะถูกล ำ�เลียงเข้าสู่ไซเลม และเซลล์ผ ่าน (passage
cell) ซึ่งเป็นบ ริเวณข องเอนโดเดอ ร์ม ิสตรงที่ต ่อก ับไซเลมแ ละไม่มีแถบแ คสพาเรียน
เพอ รไิ ซเคลิ (pericycle) คอื ชัน้ น อกส ดุ ข องเนือ้ เยือ่ ล �ำ เลยี งโดยม กี ารเปลีย่ นแปลง
มาจากเซลล์ชั้นในสุด ประกอบด้วยเซลล์พาเรงคิมาเป็นส่วนใหญ่ จึงทำ�หน้าที่เป็นเนื้อเยื่อเจริญที่ให้กำ�เนิด
รากแ ขนง (lateral root) ในพืชท ี่มีก ารเติบโตข ั้นท ี่ส อง เพอริไซเคิลจะแบ่งตัวเป็นส ่วนห นึ่งข องเนื้อเยื่อเจริญ
ด้านข้าง ในรากของพืชที่ไม่มีการเจริญขั้นที่สองเพอริไซเคิลจะเปลี่ยนแปลงเป็นเนื้อเยื่อที่ให้ความแข็งแรง
แก่ร าก
- เนื้อเยื่อลำ�เลียง เกิดจากส่วนในของเซลล์ชั้นในสุด รากของพืชใบเลี้ยงคู่ไม่มี
แกนข้างใน (pith) เหมือนลำ�ต้น ส่วนรากของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวอาจมีแก่นข้างในอยู่ด้วย เนื้อเยื่อลำ�เลียง
ประกอบด้วยไซเลมข ั้นต้น (primary xylem) และโฟลเอ็มข ั้นต ้น (primary phloem)
บริเวณเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ในรากที่มีการเจริญเติบโตขั้นต้นทั้งในพืชใบเลี้ยงคู่และพืช
ใบเลี้ยงเดี่ยวจ ะเหมือนก ัน แตแ่ ตกต ่างก ันต รงก ารเรียงต ัวห รือก ารจ ัดต ัวข องเนื้อเยื่อล �ำ เลียงเท่านั้น กล่าวค ือ
ในพืชใบเลี้ยงคู่มักมีไซเลมเรียงตัวกันเป็นรูปดาว ซึ่งอาจมี 3-4-5 แฉกก็ได้ และมีโฟลเอ็มอยู่ระหว่างแฉก
ของไซเลม ส่วนพ ืชใบเลี้ยงเดี่ยวไซเลมแ ละโฟลเอ็มจะเรียงต ัวสลับก ันรอบเส้นรอบวงของราก
2.3.2 การเติบโตขั้นต้นของลำ�ต้น เมื่อต้นอ่อนได้งอกรากลงไปในดินแล้ว ก็มีการเจริญของ
ส่วนยอด คือ มีลำ�ต้นและใบเกิดขึ้น ส่วนยอดนี้มีเนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายอยู่ระหว่างใบคู่แรกหรือที่ปลาย
สุดของเอพิโคทิล เนื้อเยื่อเจริญนี้มีการแบ่งเซลล์อยู่เรื่อยๆ กลุ่มเซลล์ที่อยู่ปลายสุดก็ยังเป็นเนื้อเยื่อเจริญ
ต่อไป ส่วนเซลล์อื่นๆ จะขยายขนาดและยืดตัวยาวออกเป็นบริเวณที่มีการยืดตัวของเซลล์เหมือนกับราก
แต่มองเห็นไม่เด่นชัดเหมือนในราก เซลล์บริเวณนี้มีเนื้อเยื่อเจริญขั้นต้นซึ่งจะเจริญไปเป็นเนื้อเยื่อถาวร
ขั้นต ้นเหมือนก ับในร าก
ในการเจริญเติบโตขั้นต้นนี้เนื้อเยื่อเจริญขั้นต้นจะมีการเปลี่ยนแปลงต่อไปเป็นเนื้อเยื่อถาวร
ขั้นต ้น คือ เซลล์ร อบน อกเปลี่ยนเป็นเนื้อเยื่อผ ิว เซลล์เนื้อเยื่อพ ื้นเปลี่ยนไปเป็นเนื้อเยื่อคอร์เทกซ์แ ละแกน
ข้างใน ส่วนเซลล์ช ั้นในส ุดจะเปลี่ยนไปเป็นเนื้อเยื่อลำ�เลียง ดังมีร ายละเอียดด ังต ่อไปนี้
1) ชนั้ เนอื้ เยอ่ื ผ วิ ส่วนม ากป ระกอบด ้วยเซลลเ์พียงช ั้นเดียวแ ละอ ยูช่ ิดก ันม าก ไม่มชี ่อง
ว่างระหว่างเซลล์ เนื่องจากเนื้อเยื่อผิวมีหน้าที่ป้องกันการสูญเสียนํ้าจากลำ�ต้นและป้องกันเชื้อโรคพืชต่างๆ
เนื้อเยื่อผิวของลำ�ต้นจึงมักม ีช ั้นของส ารข ี้ผ ึ้งค ิวท ิน (cutin) ปกคลุมอยู่ เรียกว่า ชั้นค ิวทิเคิล (cuticle) ซึ่ง
ช่วยล ดก ารส ูญเสียน ํ้าข องพ ืชได้ม าก สารค ิวท ินน ี้ส ร้างข ึ้นในเซลล์เนื้อเยื่อผ ิวแ ละห ลั่งอ อกม าปกค ลุมผ ิวข อง
ลำ�ต้นอีกชั้นห นึ่ง ชั้นคิวทิเคิลของล ำ�ต้นจะติดต่อกับชั้นค ิวทิเคิลของใบ
นอกจากน ี้เนื้อเยื่อผิวยังให้กำ�เนิดแ ก่ข น (trichome) ซึ่งอ าจม ีต่อมอ ยู่ด้วย ซึ่งมีหน้าที่
ช่วยป ้องกันอ ันตรายจากส ัตว์กินพืชแ ละป้องกันก ารส ูญเสียน ํ้าอ ีกทางห นึ่ง
2) เน้ือเย่ือชั้นคอร์เทกซ์ อยู่ถัดจากชั้นเนื้อเยื่อผิว ประกอบด้วยเซลล์ชนิดต่างๆ เช่น
ชั้นน อกส ุดข องค อร์เทกซ์ม ักเป็นเซลล์ที่ม ีผนังห นาไม่เท่าก ันช ่วยให้ความแข็งแ รงแก่ลำ�ต้น ในชั้นถ ัดมาส ่วน
ใหญจ่ ะเป็นเซลลพ์ าเรงคมิ าซ ึ่งม ผี นังบ างแ ละม ชี ่องว ่างร ะหว่างเซลลม์ าก พาเรงคมิ าในล ำ�ต้นอ าจเปลี่ยนแปลง