Page 141 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 141
กระบวนการดำ�รงช ีวิต 2-131
1. โครโมโซม
โครโมโซมเป็นแหล่งบรรจุสารพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตอยู่ในนิวเคลียส มีความจำ�เพาะทั้งขนาด
รูปร่าง และจำ�นวนในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด บนโครโมโซมมียีน ซึ่งส่วนใหญ่ทำ�หน้าที่กำ�หนดการสังเคราะห์
โปรตีนไว้ใช้ท ั้งในแ ละน อกเซลล์ โครงสร้างข องโครโมโซมค ือ DNA รวมอ ยู่ก ับโปรตีนห ลายช นิด ซึ่งป ระกอบ
ขึ้นเป็นหน่วยย ่อยจำ�นวนม าก แต่ละห น่วยเรียกว่า นิวค ลีโอโซม (nucleosome) จากโครงสร้างน ี้เอง ทำ�ให้
โครโมโซมม หี นา้ ท ปี่ อ้ งกนั ค วามเสยี ห าย ทจี่ ะเกดิ ข ึน้ ก บั ส ารพ นั ธกุ รรมไมใ่ หถ้ กู ท ำ�ลายไดโ้ ดยง า่ ย และถ า่ ยทอด
ไปส ู่ลูกหลานผ ่านท างการแบ่งเซลล์
ภาพที่ 2.46 โครโมโซมในนวิ เคลียสร ูปร า่ งเป็นแ ท่งประกอบด ว้ ย DNA รวมกบั โปรตีน
2. การเพม่ิ ป ริมาณ DNA โดยก ารจ �ำ ลองตวั *
2.1 การจำ�ลองต ัวของ DNA ชนดิ ก ึ่งอ นุรกั ษ์ วัตส ัน (Watson) และคร ิก (Crick) ได้เสนอรูปแบบ
การเพิ่มปริมาณซ ึ่งม ีก ารส ร้าง DNA ขึ้นใหม่โดยมีส่วนป ระกอบโครงสร้างเหมือนเดิมท ุกประการ เรียกได้ว่า
เป็นการจ �ำ ลองต วั ข อง DNA (DNA replication) การจ �ำ ลองต ัวข อง DNA เปน็ ล ักษณะก ึ่งอ นุรักษ์ (semicon-
servative) (ภาพที่ 2.47) กล่าวค ือ DNA เกลียวคู่จะทำ�ห น้าที่เป็นแม่แบบ (template) โดยคลายเกลียวอ อก
ทำ�ให้เกิดเป็น DNA เส้นเดี่ยว ซึ่งจ ะเป็นแม่แ บบในการส ร้าง DNA เส้นใหม่โดยม ีเบสเป็นล ักษณะคู่ส ม
ถ้าแม่แ บบมีการเรียงล ำ�ดับเบสเป็น 5ʹ-A-A-C-A-T-C-3ʹ เส้นท ี่สร้างข ึ้นใหม่ก ็จ ะมีการเรียงลำ�ดับ
เป็น 5ʹ-G-A-T-G-T-T-3ʹ ซึ่งจ ะเหมือนก ับเส้นเก่าท ี่เคยจ ับก ันเป็นเกลียวค ู่ท ุกป ระการ ดังน ั้นเกลียวค ู่ท ี่ส ร้าง
ขึ้นใหม่จะประกอบด้วยเส้นเก่าพันเกลียวกับเส้นใหม่ จึงเรียกว่าเป็นการจำ�ลองตัวขึ้นใหม่ชนิดกึ่งอนุรักษ์
อย่างไรก ็ตาม ก ารจ ำ�ลองต ัวขึ้นใหม่ดังกล่าวจะได้ DNA เพิ่มเป็น 2 เท่า (2X 4X) โดยม ีการเรียงลำ�ดับ
เบสข องท ั้งส องเกลียวค ู่เหมือนก ันทุกป ระการ
* รวบรวมและเรียบเรียงจาก สกล พันธุ์ยิ้ม (2525) “การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม” ใน เอกสารการสอนชุดวิชา
วิทยาศาสตร์ชีวภาพกายภาพ 1 หน่วยที่ 2 หน้า 73-136 นนทบุรี สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช