Page 138 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 138

2-128 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ลักษณะ​ทางพ​ ันธุกรรม​ดังก​ ล่าว​เปลี่ยนแปลง​ไป​เกี่ยวข้อง​ด้วย บาง​ยีนอ​ าจ​มี​ผลต​ ่อ​ปริมาณข​ อง​สาร​ที่ม​ ีส​ ี​ที่อ​ ยู่​
ใน​ม่านตา บาง​ยีน​อาจ​จะ​มี​ผล​ต่อ​ความ​เข้ม​ของ​สี​ซึ่ง​อา​จเป็น​สี​เหลือง​อ่อน สี​นํ้าตาล​เข้ม​หรือ​สี​อื่นๆ บาง​ยีน​ก็​
อาจ​จะ​มี​ผล​ทำ�ให้​การก​ระ​จาย​ของ​สี​ที่​ม่านตา​ไม่​สมํ่าเสมอเหล่า​นี้​ทำ�ให้​ตา​มี​สี​ต่างๆ กัน​ไป​ได้​อย่าง​มาก ซึ่ง​ถ้า​
เป็นเ​พียง​ยีน​เดียวจ​ ะไ​ม่มีผ​ ลก​ระ​ทบ​ต่อ​การถ​ ่ายทอดล​ ักษณะ​ทางพ​ ันธุกรรม (สีข​ อง​ตา) มาก​นัก แต่​เมื่อ​รวม​
กันเ​ข้า​หลาย​ยีน​แล้ว ผลกร​ ะ​ทบ​นี้ก​ ็จ​ ะม​ าก​พอที่จ​ ะเ​ปลี่ยน​ลักษณะท​ าง​พันธุกรรมน​ ั้น​จนเ​ห็น​ได้ช​ ัด

            3.3.2 	การถ​ า่ ยทอดล​ กั ษณะท​ างพ​ นั ธกุ รรมด​ ว้ ยก​ ลมุ่ ย​ นี ลกั ษณะท​ ไี​่ มต​่ อ่ เ​นือ่ ง ซึง่ ห​ มายความว​ า่
ลักษณะ​ที่​ปรากฏอ​ อกม​ าค​ ่อนข​ ้าง​ชัดน​ ั้น​มี​จำ�นวนจ​ ำ�กัด เช่น ลักษณะ​ของ​เมล็ด​ถั่ว​ขรุขระ เรียบ สี​ของด​ อกไม้
แดง ขาว ชมพู หรือ​รูปร​ ่างข​ อง​หงอน​ไก่ แม้​บางค​ รั้งจ​ ะ​มี​กลุ่มย​ ีนท​ ี่​ทำ�ให้​ไม่​สามารถ​แยกล​ ักษณะ​พันธุกรรมท​ ี​่
แตก​ต่างก​ ัน​ได้ช​ ัดเจน แต่ล​ ักษณะป​ รากฏ​ที่​แสดงออกม​ าก​ ็ย​ ังค​ ง​มีจ​ ำ�นวน​จำ�กัด เช่น สี​ตา ก็จ​ ะ​เป็น​สี​ฟ้า​กับส​ ี​
นํ้าตาล อย่างไรก​ ็ตาม ยัง​มีล​ ักษณะอ​ ีกห​ ลายๆ ลักษณะ​ที่แ​ สดงออก​ใน​ลักษณะ​ที่ต​ ่อ​เนื่องก​ ัน ซึ่ง​หมายความ​
ว่า​ลักษณะท​ ี่​ปรากฏ​ออก​มาน​ ั้น​เราไ​ม่​สามารถ​จำ�กัดจ​ ำ�นวน​ได้​และม​ ี​ความ​ต่อเ​นื่องก​ ันไ​ป เช่น ความส​ ูงอ​ าจจ​ ะ​
สูง 180 เซนติเมตร 170 เซนติเมตร หรืออ​ าจจ​ ะม​ ีค​ วามส​ ูงอ​ ีกห​ ลายๆ ระดับร​ ะหว่าง 180 กับ 170 เซนติเมตร
ซึ่งอ​ าจ​เป็น 171 172 เซนติเมตร หรือ​ระหว่าง​นั้นอ​ ีก​ก็ได้ เช่น 171.5 เซนติเมตร เป็นต้น ซึ่งค​ วาม​สูงเ​หล่าน​ ี้​
ไมส่​ ามารถแ​ ยกอ​ อกม​ าใ​หช้​ ัดเจนห​ รืออ​ ยูใ่​นจ​ ำ�นวนท​ ีจ่​ ำ�กัดไ​ด้ นอกจากค​ วามส​ ูงแ​ ล้วส​ ผี​ ิวข​ องค​ นเ​รา ความย​ าว​
ของ​ฝักข​ ้าวโพด ก็​จะ​เป็นไ​ปใ​น​ทำ�นองเ​ดียวกัน

            คำ�อ​ ธิบายท​ ีเ่​ป็นท​ ีย่​ อมรับก​ ันโ​ดยท​ ั่วไปก​ ค็​ ือ ลักษณะเ​หล่าน​ ีถ้​ ูกค​ วบคุมโ​ดยก​ ลุ่มย​ ีนท​ ีย่​ ีนแ​ ต่ละ​
ยีนแ​ ยกจ​ าก​กัน​เด็ดข​ าด แต่ม​ ี​อิทธิพลต​ ่อล​ ักษณะเ​ฉพาะเ​ดียวกัน และเ​ป็น​ไปใ​น​ทางเ​ดียวกัน คือ ใน​ทาง​บวก​
หรือ​เพิ่ม​ขึ้น

            สมมติว​ ่าก​ ำ�ลังศ​ ึกษาค​ วาม​สูงข​ องช​ นเ​ผ่า​หนึ่งซ​ ึ่ง​ความ​สูง​นี้​ถูกค​ วบคุม​ด้วยย​ ีน​ที่แ​ ยกจ​ ากก​ ัน 3
ยีน​ด้วยก​ ัน แต่ละย​ ีนจ​ ะ​มีอ​ ัล​ลีลค​ ู่ห​ นึ่ง โดยอ​ ัล​ลีล​หนึ่งจ​ ะ​เพิ่ม​ความ​สูงไ​ด้ 5 เซนติเมตร ส่วนอ​ ีกอัล​ลีลห​ นึ่งจ​ ะ​
ไม่มีผ​ ล​ต่อ​ความส​ ูง​เลย ถ้า​กำ�หนดใ​ห้​อัล​ลีลข​ อง​ยีนท​ ั้งส​ ามท​ ี่​มี​ผล​ต่อ​การเ​พิ่มค​ วามส​ ูงเ​ป็น A5,  B5 และ C5
ตาม​ลำ�ดับ เรา​ก็อ​ าจ​จะ​กำ�หนดใ​ห้อ​ ัล​ลีลท​ ี่​ไม่มีผ​ ล​ต่อค​ วาม​สูง​เป็น A, B และ C ตามล​ ำ�ดับ ถ้าส​ มมติ​ว่า​ความ​
สูงท​ ี่น​ ้อย​ที่สุด​เท่ากับ 150 เซนติเมตร คนท​ ี่​มี​ลักษณะ​ยีน AABBCC ก็​จะม​ ี​ความ​สูง 150 เซนติเมตร เพราะ​
ไม่ม​ ี​อัลล​ ีล​ที่เ​พิ่มค​ วาม​สูง​อยู่ ส่วน​คนท​ ี่​มีล​ ักษณะ​ยีน A5 A5B5 B5C5 C5 ก็​จะม​ ีค​ วาม​สูง​ถึง 180 เซนติเมตร
เนือ่ งจากค​ นผ​ นู​้ มี​้ อ​ี ลั ล​ ลี ท​ เี​่ พิม่ ค​ วามส​ งู อ​ ลั ล​ ลี ล​ ะ 5 เซนตเิ มตร ถงึ 6 อลั ล​ ล​ี ดว้ ย​ กนั ความส​ งู จ​ งึ เ​พิม่ ข​ ึน้ อ​ กี เ​ทา่ กบั
6 × 5 = 30 เซนติเมตร เมื่อร​ วม​กับ​ความ​สูงเ​ดิมท​ ี่​มีอ​ ยู่แ​ ล้ว 150 เซนติเมตร ก็​จะส​ ูง​ถึง 150 + 30 = 180
เซนติเมตร ใน​ช่วง 150 เซนติเมตร​ถึง 180 เซนติเมตร นี้ค​ วามส​ ูง​จะเ​ปลี่ยนแปลงต​ ามล​ ักษณะ​ยีนท​ ี่​มี​จำ�​นวน​
อัล​ลีลท​ ี่​เพิ่ม​ความส​ ูงจ​ าก 1 ถึง 5 อัลล​ ีล เกิดเ​ป็น​ความ​สูง​ตั้งแต่ 155, 160, 165, 170 และ 175 เซนติเมตร​
ตามล​ ำ�ดับ กล่าว​ได้​ว่าเ​กิดค​ วามส​ ูง​ต่อเ​นื่องก​ ันอ​ ยู่ใ​น​ช่วง 150 ถึง 180 เซนติเมตร ยิ่งถ​ ้าม​ ี​ยีน​ควบคุมค​ วาม​
สูง​มาก​เท่าใด​ความ​สูง​ใน​ช่วง​นี้​ก็​ยิ่ง​ต่อ​เนื่อง​กัน​มาก​เท่านั้น นอกจาก​นี้ ยี​นอื่นๆ และ​สิ่ง​แวดล้อม​ยัง​อาจ​จะ​มี​
ผลกร​ ะท​ บ​ต่อ​ความส​ ูง​ที่​ปรากฏ ทำ�ให้​ความ​สูงท​ ี่เ​พิ่มจ​ ากอ​ ัล​ลีลข​ อง​ยีนน​ ั้น​เปลี่ยนแปลง​ไปไ​ม่​ตายตัว​แน่นอน​
เหมือนก​ ารค​ ำ�นวณ เช่น คน​ที่​มีล​ ักษณะย​ ีน A A5B B5C5 C5 อาจ​จะไ​ม่​ได้​สูง 170 เซนติเมตร​พอดี แต่​อาจ​
จะ​สูง​หรือเ​ตี้ย​กว่า 170 เซนติเมตรเ​ล็ก​น้อย​ก็​เป็นไ​ด้
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143