Page 137 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 137
กระบวนการดำ�รงชีวิต 2-127
ในการจับคู่ของยีนนี้ ถ้ายีนใดยีนหนึ่งเป็นลักษณะด้อยแล้ว ลักษณะที่แสดงออกจะผิดไปทันที
ดังน ั้น ลักษณะย ีน H_D_ เท่านั้นท ี่จ ะท ำ�ให้ไก่ม ีห งอนล ักษณะ (ง) ส่วนย ีน H_dd จะท ำ�ให้ม ีห งอนล ักษณะ (ก)
ยีน hhD_ จะท ำ�ใหม้ หี งอนล ักษณะ (ค) และย ีน hhdd กจ็ ะท ำ�ใหม้ หี งอนล ักษณะ (ข) จะเห็นไดว้ ่า ลูกท ีเ่กิดจ าก
กมาีถรึงผ 2สมลพักเมษันื่อณธพุข์ะอิจทางี่ไรยมณีน่เหคาดมูใ่นูจือกะนเรหพณ็น่อทีวแ ีส่่าลเาะมมแื่อนมมีจ้่ ีอ(ะFัลท1ลำ�)ใีลแหลตล้ัก่กูกษลทณับีเ่กไะปิดเดเมห่นามข(ือFอน2ง)ทบมั้งรลียรักพีนษบHณุรุษะแแ(ลตPะ)กหตDร่างือทกอั้งันาคจไู่กปจ็จไะะดไแมถ้ส่เึงหด4มงลลือักักนษษเลณณยะะก รแ็ไ่วดลมะ้
กันออกม าเป็นหงอนลักษณะ (ง) แต่เมื่ออ ัลลีลข องยีนใดยีนหนึ่งเป็นล ักษณะด ้อยค ู่ เช่น H_dd หรือ hhD_
ยีนที่มีอัลลีลลักษณะเด่นก็จะแสดงออกซึ่งลักษณะของตัวเองออกมาให้เห็นหรือเมื่ออัลลีลของยีนทั้งคู่เป็น
ลักษณะด ้อยคู่ก ็จะแสดงลักษณะด้อยน ั้นปรากฏอ อกม า
(ง) ดังน ั้น (ถก้า)หตา่อกลจักะพษณิจาะรณ(คา)อตัต่อรลาสัก่วษนณข ะอง(ขF)2ในทอั้งัต4รลาักสษ่วนณ9ะแ:3ล:3้ว:1โดเชย่นก การันคดำ�นังนวณี้ จะได้ห งอนล ักษณะ
ต่อล ักษณะ
ลักษณะ ง. H_D_ = ½ × ½ = 9/16
ลักษณะ ก. H_dd = ½ × » = 3/16
ลักษณะ ค. hhD_ = » × ½ = 3/16
ลักษณะ ข. Hhdd = » × » = 1/16
ลักษณะต่อเนื่องมียีนจำ�นวนมากที่ควบคุมลักษณะแต่ละลักษณะ และยีนแต่ละยีนมีอิทธิพลไม่
เท่าเทียมกัน บ่อยครั้งที่อ ิทธิพลจากสิ่งแวดล้อมท ำ�ให้เกิดความย ุ่งย ากต ่อการวิเคราะห์ข ้อมูล สมมติฐานก าร
ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมโดยกลุ่มยีนมีประโยชน์ในการอธิบายการควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม
ด้วยก ลุ่มยีน
3.3 การควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมด้วยกลุ่มยีน บางลักษณะของลูกหลานที่เกิดมาบางครั้ง
แตกต่างไปจากบรรพบุรุษ แม้แต่การแสดงออกของยีนเพียงคู่เดียวก็สามารถทำ�ให้ลูกที่เกิดมาไม่เหมือน
กับพ ่อแ ม่ ในสิ่งม ีช ีวิตช ั้นสูงการค วบคุมลักษณะพ ันธุกรรมซ ับซ ้อนมิได้ต รงไปต รงม า อาจจ ะไม่มีลักษณะที่
ปรากฏใดๆ ที่จะอ ยู่ภ ายใต้การค วบคุมของย ีนเพียงค ู่เดียว
3.3.1 กลมุ่ ยีนที่เปล่ียนแปลงการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม โดยท ั่วไปแ ล้วล ักษณะใดๆ
ก็ตาม ผูศ้ ึกษาม ักจ ะถ ือว่าถ ูกค วบคุมด ้วยย ีนท ีม่ อี ัลล ีล 1 คู่ เช่น สตี า กค็ ิดก ันว ่าถ ูกค วบคุมด ้วยย ีนท ีม่ อี ัลล ีล
1 คู่ คือ B สำ�หรับต าสีน ํ้าตาล และ b สำ�หรับตาสีฟ ้า เนื่องจาก B เป็นลักษณะเด่น ดังน ั้น ผู้ที่มีลักษณะย ีน
BB หรือ Bb ก็จะมีต าส ีนํ้าตาล ส่วนผ ู้ท ี่ม ีลักษณะย ีน bb ก็จ ะม ีตาสีฟ้า การข าดสารเมล าน ินในเนื้อเยื่อข อง
ม่านตาท ำ�ให้ม ีแ ต่ส ารส ีด ำ�จ ับอ ยู่ด ้านห ลังข องม ่านตา เมื่อม องผ ่านเข้าไปจ ะเห็นเพียงจ างๆ ทำ�ให้ม องเห็นเป็น
ตาส ีฟ ้า ส่วนการท ี่ม ีเมล านินจ ับอยู่กับเยื่อด้านหน้าของม ่านตาทำ�ให้ม องเห็นเป็นตาส ีนํ้าตาล
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสีตาโดยการควบคุมของยีนเพียงยีนเดียวนี้ ไม่ได้มี
สีตามีเพียง 2 สีเท่านั้น คือ สีนํ้าตาลและสีฟ้า แต่ตาสีนํ้าตาลหรือตาสีฟ้ายังมีขอบเขตความแก่อ่อนของ
สีแ ตกต ่างก ันอ อกไป มีตั้งแต่สีน ํ้าตาลอ่อนไปจนถึงสีนํ้าตาลแ ก่ หรือส ีฟ้าอ่อนไปจนถึงส ีฟ้าแ ก่ หรือสีเทาซ ึ่ง
ก็เป็นสีหนึ่งที่เกิดจากยีนสีฟ้า หรือสีดำ�ก็เป็นสีหนึ่งที่เกิดจากยีนสีนํ้าตาล ดังนั้น การอธิบายว่าสีตานั้นเกิด
จากการควบคุมของยีนเพียงยีนเดียวนั้นไม่เป็นการเพียงพอ น่าจะมียีนกลุ่มหนึ่งที่มีผลทำ�ให้การถ่ายทอด