Page 136 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 136
2-126 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
กรณีที่สอง ยีนทั้งสองที่ควบคุมลักษณะปรากฏเดียวกันอาจจะข่มกันได้แต่ไม่สมบูรณ์ ทำ�ให้เกิด
ลักษณะกึ่งกลางระหว่างพันธุ์ที่นำ�มาผสม โดยยีนหนึ่งสามารถข่มการแสดงลักษณะปรากฏของอีกยีนหนึ่ง
ตัวอย่างเช่น ยีนที่ควบคุมการผ ลิตเมล านิน (melanin) ซึ่งเป็นสารที่ท ำ�ให้เกิดสีข นข องหนูตะเภาจ ะข่มยีนท ี่
ควบคุมก ารจับก ันของส ารเมล าน ิน ยีนท ี่ควบคุมการผลิตเมล าน ินน ั้นมีอัลลีลคู่ห นึ่ง คือ M ซึ่งเป็นล ักษณะ
เด่นท ี่ค วบคุมก ารผ ลิตส ี ส่วน m เป็นล ักษณะด ้อยท ำ�ให้ไม่มีก ารผ ลิตส ี สำ�หรับอ ีกย ีนห นึ่งค วบคุมก ารจ ับข อง
สีเป็นผ ลให้ห นูมีข นส ีดำ�น ั้น มีอัลลีลลักษณะเด่น B ส่วนอ ัลลีลลักษณะด ้อย b นั้นทำ�ให้เมลานินจ ับได้น ้อย
กว่าป กติ ขนหนูก ็จ ะเป็นส ีน ํ้าตาล จะเห็นได้ว ่าย ีน M นั้นข ่มย ีน B อยู่ในต ัว เนื่องจากถ ้าไม่มีก ารส ร้างเมล าน ิน
(ในก รณีท ี่ย ีนเป็น mm) แล้วย่อมไม่มีส ีไปจ ับ ดังนั้น หนูตะเภาท ี่ม ียีน mm_ _ ก็จะเป็นหนูต ะเภาเผือกไปไม่
ว่าอ ีกย ีนห นึ่งจ ะเป็นลักษณะเด่นหรือลักษณะด้อยก ็ตาม ส่วนห นูต ะเภาท ี่ม ีย ีน M_B_ ก็จ ะม ีขนสีดำ� และห นู
ตะเภาท ี่มีย ีน M_bb ก็จะม ีขนส ีน ํ้าตาล
หากคำ�นวณด ูส ัดส่วนของแต่ละลักษณะท ี่เกิดก็จ ะได้ด ังนี้
ดำ� M_B_ = ½ × ½ = 9/16
นํ้าตาล M_bb = ½ × » = 3/16
mmB_ = » × ½ = 3/16
4/16
เผือก mmbb = » × » = 1/16
ดังนั้น อัตราส่วนข องห นูที่ม ีขนดำ� : นํ้าตาล : เผือก ก็จ ะเท่ากับ 9:3:4
กรณีท ี่สาม ยีนท ั้งสองม ีอ ิทธิพลต่อก ารแ สดงออกข องล ักษณะเฉพาะร ่วมกันเป็นผ ลให้เกิดล ักษณะ
ปรากฏเพียงล ักษณะเดียว โดยที่ย ีนใดย ีนห นึ่งไม่สามารถทำ�ให้เกิดลักษณะด ังกล่าวข ึ้นม าได้เอง จำ�เป็นต ้อง
อาศัยยีนที่เป็นล ักษณะเด่นอยู่ด้วยกัน ตัวอย่างเช่น การควบคุมล ักษณะหงอนของไก่ โดยปกติแ ล้ว ยีนหนึ่ง
ลักษณะเด่น (H) จะท ำ�ใหเ้กิดห งอนแ บบ (ก) (ดภู าพท ี่ 2.45) ส่วนอ ีกย ีนห นึ่งม ลี ักษณะเด่น (D) ทำ�ใหเ้กิดห งอน
ลักษณะ (ค) แต่เมื่อล ักษณะเด่น D และ H อยู่ด ้วยกันจะท ำ�ให้เกิดหงอนอีกล ักษณะห นึ่งข ึ้นมาคือ ลักษณะ
(ง) สำ�หรับล ักษณะด ้อย h และ d เมื่ออ ยู่ด ้วยกันก็จ ะเกิดห งอนลักษณะ (ข)
ภาพท ี่ 2.45 ยนี ทีม่ อี ิทธพิ ลต อ่ ก ารแสดงออกข องลักษณะเฉพาะร่วมกัน