Page 135 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 135

กระบวนการ​ดำ�รง​ชีวิต 2-125

       การ​ทำ�ตา​ราง​หรือ​การ​คาด​คะเน​ด้วย​วิธี​แบบ​ย่อ​มี​ข้อ​จำ�กัด เนื่องจาก​หาก​การ​ถ่ายทอด​ลักษณะ​
พันธุกรรม​มี​ลักษณะ​เฉพาะ​มาก การ​คาด​คะเน​อัตราส่วน​ของ​ลูก​ที่​เกิด​จะ​ทวี​ความ​ยุ่ง​ยาก​มาก​ขึ้น และ​จะ​ไม่​
สะดวก​ในก​ ารน​ ับจ​ ำ�นวนล​ ูก​ที่เ​กิด​มา การใ​ช้ว​ ิธีค​ ำ�นวณ​จะ​ช่วย​แก้​ปัญหา​นี้​ได้เ​ป็นอ​ ย่าง​ดี

       อตั ราสว่ นข​ องผ​ ลผลติ ท​ จี่​ ะเ​กิดจ​ ากก​ ารผ​ สมพ​ นั ธหุ​์ าไ​ดโ​้ ดยก​ ารค​ ำ�นวณ โดยใ​ชค​้ วามร​ จู​้ ากก​ ารท​ ดลอง​
ของ​เมนเ​ดลใ​นก​ รณี​ของก​ ารถ​ ่ายทอด​พันธุกรรมล​ ักษณะ​เดียว การผ​ สม​พันธุ์​ลูกผสม (F1) ที่​มี​อัลล​ ีลล​ ักษณะ​
เด่น​อยู่ค​ ู่​กับ​ลักษณะด​ ้อย​จะใ​ห้ F2 ที่​แสดง​ลักษณะเ​ด่น​ต่อ F2 ที่​แสดงล​ ักษณะ​ด้อยใ​นอ​ ัตราส่วน 3:1 นั่น​คือ
ในจ​ ำ�นวน F2 ทั้งหมด 4 ส่วน จะ​เป็นพ​ ันธุ์ท​ ี่ม​ ีล​ ักษณะเ​ด่น 3 ส่วน หรือ ½ (3 ใน 4) และพ​ ันธุ์ท​ ี่​แสดง​ลักษณะ​
ด้อย 1 ส่วน หรือ » (1 ใน 4) ดังน​ ั้น​หากพ​ ิจารณาก​ รณขี​ องถ​ ั่วเ​มล็ดเ​รียบเ​หลืองแ​ ละถ​ ั่วเ​มล็ดข​ รุขระเ​ขียว เมล็ด​
เรียบ​เป็นล​ ักษณะ​เด่น​ควร​จะใ​ห้ F2 ได้ ½ ส่วน​เมล็ด​ขรุขระ​เป็นล​ ักษณะด​ ้อยก​ ็ค​ วรจ​ ะ​ให้ F2 ได้ » ใน​ทำ�นอง​
เดียวกันเ​มล็ด​เหลืองเ​ป็นล​ ักษณะ​เด่น​ก็จ​ ะ​ให้ F2 ได้ ½ และเ​มล็ด​เขียว​เป็น​ลักษณะด​ ้อย​ก็จ​ ะ​ให้ F2 ได้ »

       ดัง​นั้น F2 ที่​เป็น​เมล็ดเ​รียบ​เหลืองจ​ ะ​มี ½ × ½  = 9/16 นั่น​คือ ถ้า F2 ทั้งหมด​ที่ไ​ด้​มี​จำ�นวน 16 ต้น
จะ​มีต​ ้นท​ ี่​เป็นเ​มล็ดเ​รียบ​เหลือง 9 ต้น

       ในท​ ำ�นองเ​ดียวกัน
       F2 ที่เ​ป็น​เมล็ดข​ รุขระ​เหลือง​จะ​มี 	 = » × ½  	= 	 3/16
       F2 ที่​เป็น​เมล็ด​เรียบ​เขียวจ​ ะม​ ี 	 = ½ × »  	= 	 3/16
       และ F2 ที่​เป็น​เมล็ด​ขรุขระ​เขียว​จะ​มี 	 = » × »  	= 	 1/16
       ถ้าค​ ิดเ​ป็นอ​ ัตราส่วนข​ องถ​ ั่วล​ ักษณะต​ ่างๆ ทั้ง 4 ลักษณะแ​ ล้วก​ ็จ​ ะไ​ด้ เมล็ดเ​รียบเ​หลือง : เมล็ดข​ รุขระ​
เหลือง : เมล็ดเ​รียบ​เขียว : เมล็ดข​ รุขระ​เขียว เท่ากับ 9:3:3:1 ดัง​ที่​คาด​คะเนไ​ด้​จากก​ าร​ทำ�ตา​ราง
       3.2 	การแ​ สดงออกร​ ว่ มก​ นั ข​ องย​ ีน ใน​การ​ถ่ายทอด​ลักษณะท​ างพ​ ันธุกรรม​สอง​ลักษณะ​นั้น บางย​ ีน​ที่​
เกี่ยวขอ้ งจ​ ะม​ ผี​ ลต​ อ่ ล​ กั ษณะป​ รากฏเ​ดยี วกนั ถงึ แ​ ม้วา่ ย​ นี ท​ ัง้ ส​ องน​ ั้นจ​ ะไ​มข​่ ึน้ แ​ กก่​ ันก​ ต็ าม การท​ ีย่​ นี ส​ องย​ นี ร​ ่วม​
กันค​ วบคุมล​ ักษณะ​เฉพาะ​เพียง​ลักษณะ​เดียว​นั้น​แบ่งอ​ อกไ​ด้เ​ป็น​หลายก​ รณี​และ​มี​รูปแ​ บบต​ ่างก​ ัน​ออก​ไป
       กรณี​แรก ยีน​ทั้ง​คู่​ไม่​ขึ้น​แก่​กัน​และ​กัน​แต่​เสริม​กัน​อยู่ โดย​แต่ละ​ยีน​ไม่​สามารถ​ทำ�ให้​เกิด​ลักษณะ​
ปรากฏอ​ อกม​ าไ​ด้ย​ กเว้นว​ ่าจ​ ะต​ ้อง​มีท​ ั้งส​ อง​ยีน​อยู่ด​ ้วยก​ ัน ตัวอย่าง​เช่น สี​ม่วง​ของ​ดอก​ถั่ว​จะป​ รากฏก​ ็ต​ ่อ​เมื่อ​
มีอ​ ัล​ลีล​ที่​ควบคุม​ลักษณะเ​ด่นข​ อง​ยีน V และย​ ีน W อยู่ด​ ้วยก​ ัน​เท่านั้น ถ้า​ขาด​อัลล​ ีล​ลักษณะ​เด่นข​ องย​ ีนใ​ด​
ไป ดอกถ​ ั่วก​ ็จ​ ะม​ ีส​ ีข​ าว ดังน​ ั้นด​ อกถ​ ั่วจ​ ะม​ ีส​ ีม​ ่วงเ​มื่อล​ ักษณะย​ ีนเ​ป็น V_W_ เท่านั้น (ในช​ ่องท​ ี่เ​ว้นว​ ่างไ​ว้จ​ ะเ​ป็น​
อัล​ลีล​ลักษณะ​เด่น​หรือ​ด้อย​ของ​อัล​ลีล​ที่​อยู่​หน้า​ก็ได้) ถ้า​หาก​ลักษณะ​ยีน​เป็น​อย่าง​อื่น (ได้แก่ V_ww หรือ
vvW_ หรือ vvWW) ดอก​ถั่ว​ก็​จะ​เป็น​สี​ขาว ข้อ​สังเกต​คือ​ดอก​ถั่ว​จะ​มี​สี​ม่วง​ต่อ​เมื่อ​อัล​ลีล​ลักษณะ​เด่น​อยู่​
ด้วยก​ ันท​ ั้ง​สอง​ยีน คือ V_W_ โดยไ​ม่ค​ ำ�นึง​ว่าค​ ู่​ของ​อัล​ลีลจ​ ะ​เป็น​ลักษณะเ​ด่นห​ รือ​ลักษณะ​ด้อย ดังน​ ั้นใ​น​การ​
คำ�นวณ​ถ้า​เป็น V_ หรือ W_ ก็​จะใ​ช้อ​ ัตราส่วน » และ​ถ้าเ​ป็น vv หรือ ww จึงจ​ ะใ​ช้​อัตราส่วน ¼ ถ้าห​ าก​จะ​
คำ�นวณส​ ัดส่วน​ของ​แต่ละล​ ักษณะ​ยีน​ออก​มา​ก็​จะ​ได้​ดังนี้
       ดอก​สีม​ ่วง	 V_W_  	=	 ½ × ½ 	 = 	 9/16
        	 V_ww  	=	 ½ × »  	= 	 3/16
       ดอก​สีข​ าว  	 vvW_  	 =	 » × ½ = 	 3/16 7/16
       	 vvww 	 =	 » × » = 	 1/16
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140