Page 130 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 130
2-120 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เมนเดลให้ความเห็นว่าการที่ได้ผลเช่นนี้เป็นเพราะมียีน (gene) ที่ควบคุมสีเหลือง (Y) และยีนที่
ควบคุมสีเขียว (y) ยีนที่ควบคุมส ีเหลืองเป็นยีนท ี่ค วบคุมลักษณะเด่น (dominance) ทำ�ให้ลักษณะปรากฏ
(phenotype) เป็นส ีเหลือง ส่วนย ีนที่ควบคุมสีเขียวเป็นย ีนท ี่ควบคุมล ักษณะด ้อย (recessive) เมื่ออ ยู่ด ้วย
กันล ักษณะเด่นก็จ ะข่มล ักษณะด้อย เป็นผลให้ลักษณะท ี่ป รากฏออกมาให้เห็นมีแต่ล ักษณะเด่นเท่านั้น เช่น
เมื่อน ำ�เอาพ ันธุ์ถ ั่วเมล็ดเหลืองม าผ สมก ับพ ันธุ์ถ ั่วเมล็ดเขียวจ ะได้แ ต่พ ันธุ์ถ ั่วเมล็ดเหลืองเท่านั้น เนื่องจากใน
พันธุถ์ ั่วเมล็ดเหลืองล ูกผสมจ ะม ที ั้งย ีนท ีค่ วบคุมล ักษณะข องถ ั่วเมล็ดเหลืองแ ละเมล็ดเขียวอ ยูด่ ้วยก ันห รือม ี
ลักษณะย ีน (genotype) เป็น Yy การท ี่ม ีย ีนค ู่ก ันเป็นล ักษณะเด่นล ักษณะด ้อยแ ละค วบคุมล ักษณะเดียวกัน
เช่นน ี้ เรียกยีนแต่ละยีนว ่า อัลล ีล (allele) นั่นค ือในกรณีนี้ม ีย ีนท ี่ควบคุมสีของเมล็ดถั่ว ซึ่งม ีอ ัลลีลที่ค วบคุม
ลักษณะเด่นสีเหลืองและอัลล ีลที่ควบคุมล ักษณะด้อยสีเขียวอ ยู่ด ้วยกัน
จากการท ดลองของเมนเดลส รุปเป็นกฎ ข องเมนเดลได้ 2 ข้อ ดังนี้
1.1 กฎแ หง่ การแ ยกของย นี (Law of Segregation of Genes) มีใจความว ่า ลักษณะแต่ละลักษณะ
ที่ถ ูกควบคุมโดยย ีนม ีอ ยู่เป็นคู่ และยีนที่อ ยู่เป็นคู่น ี้จะแ ยกอ อกจากก ันในขณะที่มีก ารส ร้างเซลล์ส ืบพันธุ์
1.2 กฎแหง่ การรวมอยา่ งอสิ ระของยนี (Law of Independent Assortment of Genes) มีใจความว ่า
ยนี ท แี่ ยกอ อกจ ากก ันในก ารส ร้างเซลลส์ ืบพันธุข์ องแ ต่ละฝ ่ายจ ะเขา้ ม าร วมก ับย นี ซ ึง่ อ ยบู่ นค นละโครโมโซมได้
อย่างอิสระ
2. การถ า่ ยทอดล ักษณะท างพ ันธกุ รรมล กั ษณะเดยี ว
การถ า่ ยทอดล กั ษณะท างพ นั ธกุ รรมล กั ษณะเดยี วท ปี่ รากฏน ัน้ เกดิ จ ากก ารค วบคมุ ข องย นี ท ปี่ ระกอบ
ด้วยอัลลีลสองหน่วย ถ้าอัลลีลสองหน่วยนั้นเป็นอัลลีลที่ควบคุมลักษณะด้อยและอัลลีลที่ควบคุมลักษณะ
เด่น ลักษณะที่แสดงออกจะเป็นลักษณะเด่น ถ้าลักษณะเด่นนั้นสมบูรณ์ ลักษณะเด่นสามารถข่มลักษณะ
ด้อยได้โดยลักษณะด้อยไม่ปรากฏออกมา และสามารถคาดคะเนอัตราส่วนของผลผลิตที่เกิดขึ้นได้อย่าง
แน่นอนตามผลการทดลองของเมนเดล แต่ในบางครั้งลักษณะเด่นนั้นไม่สมบรูณ์ไม่สามารถข่มลักษณะ
ด้อยได้ ทำ�ให้เกิดลักษณะผสมกันระหว่างลักษณะเด่นและลักษณะด้อย อัตราส่วนของผลผลิตที่เกิดขึ้นก็
จะเปลี่ยนแปลงไปจ ากเดิม
2.1 ลักษณะเด่นสมบูรณ์ จากการทดลองของเมลเดล สีเหลืองของเมล็ดถั่วเป็นลักษณะเด่น (Y)
และสีเขียวเป็นลักษณะด ้อย (y) ในการผ สมพ ันธุ์ถั่วเมล็ดเหลืองท ี่มีลักษณะย ีน YY กับ yy จะได้ถ ั่วล ูกผสม
เป็นเมล็ดเหลืองทั้งหมดโดยมีลักษณะยีนเป็น Yy ซึ่งเมื่อนำ�เอาถั่วเมล็ดเหลืองลูกผสมนี้มาผสมกันเอง
อีกค รั้งจ ะได้ถ ั่วเมล็ดเหลืองกับถั่วเมล็ดเขียวในอ ัตราส่วน 3:1 (ภาพที่ 2.40 (ก)) ซึ่งอ าจจ ะเขียนในร ูปแ บบ
การทำ�แ ผนภูมิเป็นตารางและก ระจายยีนในเซลล์สืบพันธุ์ (ภาพท ี่ 2.40 (ข) และ (ค)) โดยด้านหนึ่งเป็นย ีนใน
เซลล์ส ืบพันธุ์ข องพ ่อแ ละอ ีกด ้านห นึ่งเป็นย ีนในเซลล์ส ืบพันธุ์ข องแ ม่ ใส่เซลล์ส ืบพันธุ์ล งในช ่องต ารางก ็จ ะได้
ลูกที่เกิดจากการผ สม