Page 128 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 128

2-118 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

เรือ่ งท​ ่ี 2.4.1 การ​ถา่ ยทอดล​ ักษณะท​ าง​พันธุกรรม*

       พันธุศ​ าสตร์ (genetics) เป็น​ศาสตร์​ที่​ว่า​ด้วย​การ​สืบทอด​ลักษณะ​ของบ​ รรพบุรุษ ทำ�ให้​ทราบส​ าเหต​ุ
ของ​ความ​เหมือน​หรือ​ความ​แตก​ต่าง​ระหว่าง​บรรพบุรุษ​กับ​ลูก​หลาน​ที่​สืบ​ต่อ​มา นอกจาก​นี้​ยัง​สามารถ​คาด​
คะเน​ลักษณะ​ของ​ลูก​หลาน​ที่​เกิด​มา​ได้​ใน​อัตราส่วน​ที่​ใกล้​เคียง​กัน การ​ถ่ายทอด​ลักษณะ​ทาง​พันธุกรรม​ของ​
เมน​เดล​ได้​สรุป​เป็น​สมมติฐาน และ​เสนอ​รูป​แบบ​ของ​การ​ถ่ายทอด​ลักษณะ​ทาง​พันธุกรรม ทำ�ให้​สามารถ​
คาด​คะเน​อัตราส่วน​ของ​ผล​ที่​ได้​จาก​การ​ผสม​พันธุ์​ด้วย การ​ถ่ายทอด​ลักษณะ​ที่​ถูก​ควบคุม​โดย​ยีน​ซึ่ง​อยู่​บน​
​โครโมโซม​เพศ​จะ​มี​แบบแผน​แตก​ต่าง​ไป​จาก​อัตราส่วน​ของ​เมนเดล การ​แสดงออก​ของ​ยีน​และ​ระดับ​
การแ​ สดงออก​ขึ้นอ​ ยู่ก​ ับส​ ิ่งแ​ วดล้อม

1. 	เมนเ​ดล​กบั ​การ​ถ่ายทอดล​ กั ษณะท​ าง​พนั ธุกรรม

       บุคคลท​ ีน่​ ับไ​ดว้​ ่าเ​ป็นบ​ ิดาข​ องพ​ ันธศุ​ าสตรค์​ ือ เกรเ​กอร์ เมนเดล (Gregor Mendel) เมนเ​ดลเ​ป็นบ​ ุตร​
ชาวนาช​ าวอ​ อสเตรียแ​ ละม​ คี​ วามร​ ูท้​ างด​ ้านก​ ารเกษตรอ​ ย่างด​ ี ซึ่งม​ ปี​ ระโยชนต์​ ่อก​ ารท​ ดลองค​ ้นคว้าข​ องเ​มนเ​ดล​ ​
อย่​า​งมาก นอกจาก​นั้น เมล​เดล​ยัง​ได้​เข้า​รับ​การ​ศึกษา​วิชา​วิทยาศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัย​แห่ง​เวียนนา เมื่อ​
สำ�เร็จก​ าร​ศึกษา​แล้ว เมนเ​ดลไ​ด้​ทำ�การ​ทดลอง​ผสมพ​ ันธุ์ถ​ ั่ว​ลันเตาเ​ป็น​เวลา 7 ปี (พ.ศ. 2399-2406) จากผ​ ล​
การ​ทดลอง​นี้ เมน​เดล​สามารถ​สรุป​รูปแ​ บบ​ของก​ าร​ถ่ายทอดล​ ักษณะท​ างพ​ ันธุกรรม​ขึ้นไ​ด้โ​ดย​มี​หลักเ​กณฑ์ท​ ี​่
ค่อนข​ ้างจ​ ะแ​ น่นอน และก​ ลาย​เป็นจ​ ุดเ​ริ่ม​ต้น​ของพ​ ันธุ​ศาสตร์​ในเ​วลาต​ ่อ​มา

       ในก​ ารท​ ดลองผ​ สมพ​ ันธถุ์​ ั่วแ​ ตล่ ะค​ รัง้ เมนเ​ดลไ​ดพ​้ ิจารณาล​ ักษณะเ​ฉพาะต​ า่ งๆ 7 ลกั ษณะ คือ สเ​ี มลด็
ลักษณะผ​ ิว สีด​อก สี​ใบเ​ลี้ยง สี​ฝัก และร​ ูปร​ ่างข​ อง​เมล็ด ความส​ ูง และบ​ ริเวณท​ ี่​เกิดด​ อก ในก​ ารท​ ดลอง​แต่ละ​
ครั้ง​เมน​เดลศ​ ึกษา​เพียง​ลักษณะ​เดียว และไ​ด้​คัด​เอาเ​ฉพาะพ​ ันธุ์ถ​ ั่ว​ที่​มี​ลักษณะ​เฉพาะ​คงที่น​ ั้นม​ าศ​ ึกษา​ต่อไ​ป
ในก​ ารท​ ดลองด​ ังก​ ล่าวเ​มนเ​ดลส​ นใจศ​ ึกษาล​ ักษณะส​ ีข​ องเ​มล็ดถ​ ั่ว ในก​ ารผ​ สมพ​ ันธุ์ถ​ ั่วท​ ี่ม​ ีเ​มล็ดส​ ีเ​หลืองแ​ ละส​ ​ี
เขียวพ​ บ​ว่าใ​น​ปี​ที่ 1 และป​ ีท​ ี่ 2 (ดู​ภาพ​ที่ 2.39 ) เมื่อ​นำ�ถ​ ั่ว​เมล็ด​เหลือง​หรือถ​ ั่วเ​มล็ดเ​ขียวม​ าผ​ สมพ​ ันธุ์​กันเอง​ก​็
จะไ​ดพ​้ ันธุถ​์ ัว่ ท​ ีม่​ เี​มลด็ ส​ เี​หมือนพ​ ่อพ​ ันธุแ​์ ละแ​ มพ่​ นั ธทุ​์ ีม่ าผ​ สม แสดงว​ ่าเ​ป็นพ​ ันธแุ์​ ท้ และเ​มื่อน​ ำ�ถ​ ั่ว (parent, P)​
ที่​มี​เมล็ด​เหลือง​มา​ผสม​กับ​ถั่ว​ที่​มี​เมล็ด​เขียว​ที่​เป็น​พันธุ์​แท้ (ใน​ปี​ที่ 3) ก็​พบ​ว่า​ได้​พันธุ์​ถั่ว (first filial​
generation, F1) ที่ม​ ีเ​มล็ดเ​หลืองเ​ท่านั้น และเ​มื่อป​ ีท​ ี่ 4 นำ�เ​อาพ​ ันธุ์ถ​ ั่ว F1 ที่ไ​ด้น​ ี้ม​ าผ​ สมก​ ันเอง (F1 × F1) กลับ​
พบ​ว่าไ​ด้​พันธุ์ถ​ ั่ว (second filial generation, F2) ที่​มีเ​มล็ดเ​หลืองแ​ ละพ​ ันธุ์​ถั่วท​ ี่ม​ ี​เมล็ดเ​ขียว ในอ​ ัตราส่วน​
3 ต่อ 1 หรือ ร้อยล​ ะ 75 ต่อ ร้อยล​ ะ 25 เมื่อ​เมนเ​ดลแ​ ยกเ​อาพ​ ันธุ์ถ​ ั่วร​ ุ่น F2 ที่ส​ ี​เมล็ด​เหมือน​กัน​ผสม​กันเอง 
(F2 × F2) ใน​ปี​ที่ 5 พวก​ถั่ว​เมล็ดเ​ขียว​จะใ​ห้​พันธุ์​ถั่วท​ ี่​มี​แต่เ​มล็ด​สี​เขียวเ​ท่านั้น แต่​พันธุ์ถ​ ั่ว​เมล็ดเ​หลือง​ที่​มี​อยู​่

         * รวบรวม​และ​เรียบ​เรียง​จาก เครือวัลย์ โสภาสรรค์ (2547) “การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม” ใน เอกสารการสอน
ชุดวิชาวิทยาศาสตร์ 4 หน่วยที่ 11 หน้า 245-305 พิมพ์ครั้งที่ 3 นนทบุรี สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133