Page 133 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 133
กระบวนการดำ�รงชีวิต 2-123
ภาพที่ 2.42 การคาดค ะเนก ารผสมพ ันธ์ุระหวา่ งล กั ษณะเดน่ ท ีไ่ มส่ มบูรณ์
3. การถ่ายทอดล ักษณะท างพันธกุ รรมส องล ักษณะ
สิ่งมีชีวิตมียีนจำ�นวนเป็นพันยีนที่ควบคุมลักษณะต่างๆ ของชีวิตนั้น ดังนั้น การศึกษาถึงรูปแบบ
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมอย่างน้อย 2 ลักษณะ จะเป็นแนวคิดในการถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุก รรมห ลายๆ ลักษณะของส ิ่งม ีชีวิตต่อไป
3.1 รูปแบบของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมสองลักษณะ ในการผสมพันธุ์โดยเลือก
พจิ ารณาส องล กั ษณะน ัน้ ลกู ร ุน่ แ รกท เี่ กดิ จ ากก ารผ สมจ ะแ สดงล กั ษณะเดน่ ท ัง้ หมด เชน่ หากพ จิ ารณาล กั ษณะ
ผิวแ ละส ขี องเมล็ดถ ั่ว คือ ผิวเรียบก ับข รุขระแ ละส เีหลืองก ับส เีขียว โดยใชพ้ ันธุถ์ ั่วเมล็ดเรียบเหลืองแ ละพ ันธุ์
ถั่วเมล็ดข รุขระเขียว ลูกท ีเ่กิดจ ากก ารผ สมข องถ ั่วท ั้งส องพ ันธุน์ ีจ้ ะเป็นถ ั่วเมล็ดเรียบเหลืองท ั้งหมด ซึ่งเมื่อน ำ�
มาผสมพ ันธุ์ก ันเองจ ะได้ถ ั่วเมล็ดเรียบเหลือง ถั่วเมล็ดข รุขระเหลือง ถั่วเมล็ดเรียบเขียว และถ ั่วเมล็ดขรุขระ
เขียว ในอัตราส่วน 9:3:3:1 การผสมพันธุ์โดยพิจารณาสองลักษณะจะได้พันธุ์ที่เป็นลักษณะผสมระหว่าง
พนั ธพุ์ อ่ แ ละพ นั ธแุ์ ม่ เชน่ กรณนี จี้ ะไดพ้ นั ธทุ์ ใี่ หถ้ ัว่ เมลด็ ข รขุ ระเหลอื งแ ละพ นั ธทุ์ ใี่ หถ้ ัว่ เมลด็ เรยี บเขยี ว แสดงว า่
ยีนที่ควบคุมลักษณะผิวของเมล็ดกับยีนที่ควบคุมสีของเมล็ดสามารถแยกจากกันได้ และไม่จำ�เป็นต้องอยู่
คู่กันตามท ี่พ บในพ ันธุ์พ่อพันธุ์แ ม่เสมอไป นั่นค ือย ีนที่ควบคุมสีของเมล็ดอยู่บ นโครโมโซมค ู่หนึ่ง ส่วนยีนที่
ควบคุมลักษณะผิวข องเมล็ดจ ะอ ยู่บ นโครโมโซมอีกค ู่ห นึ่งต ่างหาก จึงส ามารถผ สมก ันได้อย่างอิสระ
ในการพิจารณารูปแบบของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมสองลักษณะ หากกำ�หนดให้ S
เป็นอัลลีลควบคุมลักษณะเมล็ดเรียบ และ s เป็นอัลลีลควบคุมลักษณะเมล็ดขรุขระ ส่วนอัลลีลควบคุมสี
เมล็ดถั่วส ำ�หรับสีเหลืองเป็น Y และส ำ�หรับส ีเขียวเป็น y จะได้แผนภูมิแบบย ่อด ังภาพที่ 2.43