Page 82 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 82
3-72 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
3) ออกไซดข์ องไนโตรเจน เกดิ จ ากก ารเผาไหมท้ มี่ อี ณุ หภมู สิ งู ก วา่ 1,000 องศาเซลเซยี ส
ออกไซด์ของไนโตรเจนอาจอยู่ในรูปของแก๊สไนตริกออกไซด์ ซึ่งไม่มีสี ไม่มีกลิ่น และไม่เป็นอันตรายต่อ
สุขภาพ หรือไนโตรเจนอ อกไซด์ ซึ่งม สี นี ํ้าตาลแ กมแ ดงแ ละม กี ลิ่นฉ ุน เมื่อร วมต ัวก ับน ํ้าห รือค วามชื้นจ ะก ลาย
เป็นกรดไนตริก มีฤทธิ์กัดกร่อนเช่นเดียวกับก ำ�มะถัน
4) สารประกอบไฮโดรคารบ์ อน อาจเกิดจ ากธ รรมชาติ เช่น แก๊สมีเทน หรือเกิดจ ากก าร
เผาไหม้น ํ้ามันเชื้อเพลิง การระเหยข องป ิโตรเลียมและส ารละลายท ีใ่ชใ้นอ ุตสาหกรรมซ ึ่งม ีม ากมายห ลายช นิด
บางชนิดทำ�ให้เกิดค วามผิดป กติข องร ะบบท างเดินหายใจ บางชนิดเป็นส ารก่อม ะเร็ง
5) แก๊สโอโซนในบรรยากาศใกล้ผิวโลก เกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่เกิดจากแสง (photo-
chemical reduction) ของออกไซด์ของไนโตรเจน เกิดอะตอมอิสระของออกซิเจน ซึ่งไปรวมตัวกับแก๊ส
ออกซิเจนก ลายเป็นโอโซน แก๊สโอโซนมีสีฟ ้าอ ่อน กลิ่นฉุน และม ีพิษต่อสิ่งม ีชีวิตท ั้งม นุษย์และสัตว์
3.3 การจดั การมลพิษทางอากาศ ในก ารจัดการม ลพิษทางอ ากาศจ ะต ้องดำ�เนินการดังต ่อไปนี้
3.3.1 กำ�หนดม าตรฐานค ุณภาพอ ากาศแ ละม าตรฐานก ารป ล่อยส ารม ลพษิ ท างอ ากาศอ อกจ าก
แหล่งกำ�เนิด ให้ค รอบคลุมสารม ลพิษทางอ ากาศท ุกช นิดแ ละแ หล่งก ำ�เนิดทุกประเภท
3.3.2 ติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศและการปล่อยสารมลพิษจากแหล่งกำ�เนิดอย่าง
ครอบคลุมและต ่อเนื่อง รวมท ั้งบ ังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง
3.3.3 ปรับปรุงมาตรฐานคุณภาพของเชื้อเพลิงให้เหมาะสมเพื่อลดสารมลพิษลง และออก
กฎหมายอย่างเคร่งครัด รวมทั้งส่งเสริมให้มีการใช้เชื้อเพลิงที่ปลอดสารมลพิษหรือมีสารมลพิษน้อยกว่า
ทดแทน
3.3.4 สนับสนุนใหม้ กี ารต ิดต ั้งอ ุปกรณบ์ ำ�บัดส ารม ลพิษท างอ ากาศในแ หล่งก ำ�เนิด เพื่อใหส้ าร
มลพิษที่ปล่อยม าเป็นไปตามม าตรฐานท ี่กำ�หนดไว้
3.3.5 ปรับปรุงส ภาพแ ละแ ก้ไขป ัญหาก ารจ ราจรต ิดขัด รวมท ั้งพ ัฒนาร ะบบข นส่งม วลชนเพื่อ
ลดค วามค ับคั่งข องก ารจราจร เพื่อช ่วยล ดม ลพิษท างอากาศ
3.3.6 สนับสนุนให้มีการพัฒนาพลังงานรูปแบบใหม่ๆ ที่ปลอดสารมลพิษแทนเชื้อเพลิงที่ใช้
กันอ ยู่ในป ัจจุบันให้มากข ึ้น
3.3.7 เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับรู้และร่วมมือในการแก้ไขปัญหามลพิษทาง
อากาศ
4. มลพิษทางเสียง
เสียงที่ดังรบกวนและเกิดขึ้นต่อเนื่องกันหรือเกิดบ่อยๆ ย่อมเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของ
มนุษย์ โดยก ่อให้เกิดผ ลเสียท ั้งท างร ่างกายแ ละจ ิตใจ เช่น หูตึง หูห นวก ความด ันโลหิตส ูง ปวดศ ีรษะ อารมณ์
เครียด หงุดหงิด จากการเฝ้าระวังติดตามตรวจวัดเสียงของหน่วยราชการในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า
พื้นที่บางแห่งมีระดับเสียงอ ยู่ในระดับส ูงจนอ าจก ่อให้เกิดอันตรายด ังก ล่าวได้ สาเหตุสำ�คัญเกิดจ ากร ถยนต์
จักรยานยนต์ และโรงงานอ ุตสาหกรรม