Page 87 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 87

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3-77

เรื่อง​ที่ 3.4.1 	แนวคิด​เกย่ี ว​กับท​ รัพยากรธรรมชาติ

       ทรัพยากรธรรมชาติ​เป็น​สิ่ง​ที่​มี​ความ​สำ�คัญ​ต่อ​การ​ดำ�รง​ชีวิต​ของ​มนุษย์​มา​ตั้งแต่​อดีต​จนถึง​
ปัจจุบัน การ​เปลี่ยนแปลง​ขนาด​ของ​ประชากร​มนุษย์​ที่​มี​การ​เพิ่ม​จำ�นวน​ขึ้น​อย่าง​รวดเร็ว ทำ�ให้​เกิด​การ​ใช้​
ทรัพยากรธรรมชาติท​ ี่ม​ ีอ​ ยู่อ​ ย่างร​ วดเร็วเ​ช่นเ​ดียวกัน ประกอบก​ ับม​ นุษย์ใ​ช้ท​ รัพยากรธรรมชาติเ​หล่าน​ ั้นอ​ ย่าง​
สิ้นเ​ปลื้อง ไมค่​ ำ�นึงถ​ ึงก​ ารใ​ชป้​ ระโยชนอ์​ ย่างย​ ั่งยืน ซึ่งท​ รัพยากรธรรมชาตหิ​ ลายช​ นิดท​ ี่จ​ ำ�เป็นต​ ่อก​ ารด​ ำ�รงช​ ีวิต​
เป็นท​ รัพยากรธรรมชาตปิ​ ระเภทท​ ี่ใ​ช้แ​ ล้วห​ มดส​ ิ้นไ​ป การห​ มดไ​ปข​ องท​ รัพยากรธรรมชาตอิ​ าจไ​ม่ไ​ด้ก​ ่อใ​ห้เ​กิด​
ผลกร​ ะท​ บเ​พียงแ​ คก่​ ารข​ าดแคลนท​ รัพยากรธรรมชาติเ​ท่านั้น แตก่​ ารห​ มดไ​ปข​ องท​ รัพยากรธรรมชาติย​ ังส​ ่งผ​ ล​
ต่อ​ระบบ​นิเวศ​และ​ความ​หลาก​หลาย​ทาง​ชีวภาพอ​ ีก​ด้วย ซึ่ง​ใน​ที่สุด​มนุษย์​ก็​จะ​ได้​รับ​ผลก​ระ​ทบ​เหล่า​นั้น​ด้วย
เนื่องจาก​มนุษย์​เป็น​ส่วน​หนึ่งข​ องร​ ะบบ​นิเวศ

1. 	ความห​ มายแ​ ละป​ ระเภทข​ องท​ รพั ยากรธรรมชาติ

       1.1 	 ความ​หมาย​ของ​ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ หมาย​ถึง สิ่ง​ที่​เกิด​ขึ้น​เอง​ตาม​
ธรรมชาติ มี​ประโยชน์​สามารถ​สนอง​ความ​ต้องการ​ของ​มนุษย์​ได้ หรือ​มนุษย์​สามารถ​นำ�​มา​ใช้​ประโยชน์​ได้
ทรัพยากรธรรมชาติท​ ี่​อุดม​สมบูรณ์​จะ​มีผ​ ล​ต่อภ​ าวะเ​ศรษฐกิจแ​ ละร​ าย​ได้ข​ องป​ ระชาชน​ในแ​ ต่ละท​ ้อง​ถิ่น จาก​
ความ​หมาย​ของ​ทรัพยากรธรรมชาติ จะ​เห็น​ได้​ว่า​ทรัพยากรธรรมชาติ​ทุก​ประเภท​นั้น​จะ​เป็น​ส่วน​หนึ่ง​ของ​
สิ่ง​แวดล้อม แต่​สิ่ง​แวดล้อม​ทุก​ชนิด​ไม่​เป็น​ทรัพยากรธรรมชาติ​ทั้งหมด การ​พิจารณา​ว่า​สิ่ง​แวดล้อม​ใด​เป็น​
ทรัพยากรธรรมชาติ จะพ​ ิจารณา​จากป​ ระเด็นด​ ัง​ต่อไ​ปน​ ี้

            1) 	พิจารณา​ว่า​เป็น​สิ่ง​ที่​เกิด​จาก​ความ​ต้องการ​ของ​มนุษย์ ที่​จะ​นำ�​สิ่ง​แวด​ล้อ​มนั้นๆ มา​ใช้​ให้​
เกิด​ประโยชน์ก​ ับ​ตนเองใ​นด​ ้านต​ ่างๆ ทั้ง​อุปโภคแ​ ละ​บริโภค อุตสาหกรรม และ​การผ​ ลิต เป็นต้น

            2) 	พิจารณา​จาก​การเ​ปลี่ยนแปลง​ตาม​กาลเ​วลา ถ้า​ยังไ​ม่น​ ำ�​มาใ​ช้จ​ ะจ​ ัดเ​ป็น​สิ่งแ​ วดล้อม แต่​ถ้า​
นำ�​มา​ใช้​ประโยชน์​ได้​ก็​จะ​กลาย​เป็นท​ รัพยากรธรรมชาติใ​น​ช่วง​เวลา​นั้นๆ

            3) 	พจิ ารณาจ​ ากส​ ภาพภ​ มู ศิ าสตรแ​์ ละค​ วามห​ า่ งไ​กลข​ องส​ ิง่ แ​ วดลอ้ ม ถา้ ส​ ิง่ แ​ วดลอ้ มน​ ัน้ อ​ ยไู​่ กล​
เกิน​ไป มนุษย์อ​ าจ​ไม่​สามารถ​นำ�​มา​ใช้ป​ ระโยชน์ไ​ด้ ก็จ​ ะไ​ม่ส​ ามารถ​แปรส​ ภาพ​เป็น​ทรัพยากรธรรมชาติไ​ด้

       นอกจาก​นี้ ทรัพยากรธรรมชาติ​และ​สิ่ง​แวดล้อม​จะ​อยู่​รวม​กัน​เป็นก​ลุ่ม​คละ​กัน​ไป​โดย​อยู่​ร่วม​กัน​
อย่างม​ กี​ ฎ มรี​ ะบบ มขี​ ้อบ​ ังคับท​ ั้งท​ ีเ่​กิดข​ ึ้นเ​องโ​ดยธ​ รรมชาติแ​ ละท​ ั้งท​ ีม่​ นุษยก์​ ำ�หนดข​ ึ้นม​ า การอ​ ยูเ่​ป็นกล​ ุ่มข​ อง
ส​ รรพส​ ิ่งเ​หล่าน​ ี้ จะแ​ สดงพ​ ฤติกรรมร​ ่วมก​ ันภ​ ายในข​ อบเขตแ​ ละแ​ สดงเ​อกลักษณข์​ องก​ ลุ่มอ​ อกม​ าอ​ ย่างช​ ัดเจน
กลุ่มข​ อง​สรรพส​ ิ่ง​เหล่า​นี้​จะเ​รียกว​ ่า ระบบ​นิเวศ หรือ​ระบบส​ ิ่ง​แวดล้อม นั่นเอง

       1.2 	ประเภทข​ องท​ รัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติแ​ บ่ง​ได้​เป็น 2 ประเภท โดย​พิจารณาจ​ าก​
จำ�นวน​และ​การ​สิ้น​เปลือง​จาก​การ​ใช้ คือ ทรัพยากรธรรมชาติ​ที่​ใช้แ​ ล้ว​ไม่ห​ มด​ไป และ​ทรัพยากรธรรมชาติ​ที่​
ใช้​แล้วห​ มดไ​ป
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92