Page 91 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 91
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3-81
การพ ัฒนา คือ เสถียรภาพท างเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพส ิ่งแ วดล้อม โดยย ึดห ลักก ารอนุรักษ์ด ้วยการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติอ ย่างฉ ลาด ประหยัด และก ่อให้เกิดผ ลเสียต่อส ิ่งแ วดล้อมน ้อยที่สุดเท่าท ี่จะท ำ�ได้
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติถือว่าเป็นเรื่องสำ�คัญในปัจจุบันของหลายๆ ประเทศ รวมทั้ง
ประเทศไทย เนื่องจากเหตุผลต ่อไปน ี้
1) ทรัพยากรธรรมชาติเป็นปัจจัยที่จําเป็นในการดํารงชีวิตของมนุษย์ อัตราการเพิ่มของ
ประชากร ทำ�ให้เป็นไปต ามข ้อจ ําก ัดท างธ รรมชาติ นั่นค ือ ทรัพยากรธรรมชาติม ีไม่เพียงพ อก ับค วามต ้องการ
ของมนุษย์ซ ึ่งมีความต้องการเพิ่มข ึ้นสูงม ากในทุกพื้นที่บ นโลก
2) การที่ประชากรโลกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง พร้อมๆ กับการพัฒนาทางเศรษฐกิจสังคม
โดยใช้ค วามเจริญก ้าวหน้าท างวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ทําให้มนุษย์เกิดพ ฤติกรรมในการบ ริโภคสูงข ึ้น หรือ
เกิดค่านิยมในการบริโภคนิยมและวัตถุนิยม ทําให้การบริโภคของมนุษย์เพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้มีการใช้
ทรัพยากรธรรมชาตมิ ากข ึ้น ทำ�ใหท้ รัพยากรธรรมชาตริ ่อยห รอล งแ ละเกิดว ิกฤตส ิ่งแ วดล้อมท ั้งร ะดับโลกแ ละ
ระดับท้องถ ิ่น เช่น เกิดภ าวะโลกร ้อนข ึ้น ภัยพ ิบัติเพิ่มความร ุนแรง พิษภ ัยจ ากสารพ ิษเพิ่มม ากข ึ้น เกิดความ
สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ดินเสื่อมค ุณภาพ และป่าไม้ถ ูกท ําล ายมากขึ้น เป็นต้น
3) ทัศนคติ ความเชื่อ และขนบธรรมเนียมประเพณีบางอย่างของมนุษย์ทําลาย
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแ วดล้อม เช่น การถางป่า เผาป ่า การเล่นก ีฬาป ระเภทยิงน ก ตกป ลา และล ่าส ัตว์
การต ้องการค วามส ะดวกส บาย สนุกสนานโดยไม่ค ําน ึงถ ึงส ิ่งแ วดล้อม เช่น การส ร้างถ นน สร้างส นามก อล์ฟ
สร้างรีสอร์ท การท ําส งคราม การค มนาคมข นส่ง การค้าแ ละบริการ การเกษตร และอ ุตสาหกรรม เป็นต้น
4) นโยบายของรัฐบาล บางครั้งได้มีส่วนทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น
การให้สัมปทานแหล่งแร่ การสร้างเขื่อน และการพัฒนาโดยไม่คํานึงถึงการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมต ่างๆ ที่เพิ่มม ากข ึ้น
จากเหตุผลดังกล่าว การจัดการทรัพยากรธรมชาติให้บรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมายที่วางไว้ จึง
มีแนวคิดหลักในการดำ�เนินงานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติได้
ประโยชน์อ ย่างส ูงสุด ดังต ่อไปน ี้
1) มุ่งหวังให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ประกอบกันอยู่ในระบบธรรมชาติ มี
ศักยภาพท ี่ส ามารถให้ผ ลิตผลได้อย่างยั่งยืนถ าวรแ ละม ั่นคง คือ มุ่งห วังให้เกิดค วามเพิ่มพูนภ ายในร ะบบท ี่
จะนำ�มาใช้ได้ โดยไม่มีผ ลกระท บก ระเทือนต ่อทรัพยากรธรรมชาติแ ละสิ่งแ วดล้อมนั้นๆ
2) ต้องมีการจัดองค์ประกอบภายในระบบธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อมหรือระบบนิเวศให้มี
ชนิด ปริมาณ และสัดส่วนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแต่ละชนิดเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตามธ รรมชาติ เพื่อให้อ ยู่ในภาวะส มดุลข องธ รรมชาติ
3) ต้องยึดหลักการของอนุรักษ์วิทยาเป็นพื้นฐาน โดยจะต้องมีการรักษา สงวน ปรับปรุง
ซ่อมแซม และพัฒนาท รัพยากรธรรมชาติ ในทุกส ภาพทั้งในส ภาพท ี่ด ีต ามธ รรมชาติ ในสภาพท ี่ก ำ�ลังมีก ารใช้
และในสภาพท ี่ท รุดโทรมร ่อยหรอ