Page 92 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 92

3-82 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

            4) 	กำ�หนดแ​ นวทางป​ ฏิบัติท​ ี่ช​ ัดเจนใ​นก​ ารค​ วบคุมแ​ ละก​ ำ�จัดข​ องเ​สียม​ ิใ​ห้เ​กิดข​ ึ้นภ​ ายในร​ ะบบ​
ธรรมชาติ รวม​ไปถ​ ึง​การนำ�​ของเ​สียน​ ั้นๆ กลับม​ า​ใช้​ให้เ​กิด​ประโยชน์อ​ ย่างต​ ่อ​เนื่อง

            5) 	ต้อง​กำ�หนด​แนวทาง​ใน​การ​จัดการ​เพื่อ​ให้​คุณภาพ​ชีวิต​ของ​มนุษย์​ดี​ขึ้น โดย​พิจารณา​ถึง​
ความเ​หมาะ​สมใน​แต่ละ​สถาน​ที่ และ​แต่ละส​ ถานการณ์

       จากแ​ นวคิดด​ ังก​ ล่าว เนื่องจากท​ รัพยากรธรรมชาตนิ​ ั้นม​ หี​ ลายช​ นิด และแ​ ต่ละช​ นิดก​ ม็​ คี​ ุณสมบัตแิ​ ละ​
เอกลักษณ์​ที่​เฉพาะต​ ัว ดัง​นั้น เพื่อ​ให้การ​จัดการ​สามารถบ​ รรลุเ​ป้า​หมายข​ องแ​ นวคิด จึงค​ วรก​ ำ�หนดห​ ลัก​การ​
จัดการ​หรือ​แนวทาง​การ​จัดการ​ให้​สอดคล้อง​กับ​ชนิด คุณสมบัติ และ​เอกลักษณ์​เฉพาะ​อย่าง​ของ​ทรัพยากร​
ธรรม​ชา​ติ​นั้นๆ

             หลังจ​ ากศ​ ึกษาเ​นื้อหา​สาระเ​รื่องท​ ี่ 3.4.1 แล้ว โปรด​ปฏิบัติก​ ิจกรรม 3.4.1
                      ใน​แนว​การศ​ ึกษาห​ น่วย​ที่ 3 ตอนท​ ี่ 3.4 เรื่องท​ ี่ 3.4.1

เรอ่ื ง​ท่ี 3.4.2 	ทรพั ยากร​แหล่ง​นาํ้

       นํ้าเ​ป็นท​ รัพยากรห​ มุนเวียน โดย​การ​ระเหยก​ ลาย​เป็นไ​อ​และ​ตกลงม​ าเ​ป็น​ฝนต​ าม​วัฏจักร​ของ​นํ้า นํ้า​
เป็นอ​ งค์ป​ ระกอบท​ ี่ส​ ำ�คัญข​ องส​ ิ่งม​ ีช​ ีวิตแ​ ละร​ ะบบน​ ิเวศ มนุษย์ต​ ้องใ​ช้น​ ํ้าเ​พื่อก​ ารอ​ ุปโภค บริโภค และก​ ิจกรรม​
ทั้งท​ างด​ ้านเ​กษตรกรรมแ​ ละอ​ ุตสาหกรรมแ​ ทบท​ ุกป​ ระเภท การใ​ช้น​ ํ้าอ​ ย่างไ​ม่เ​หมาะส​ ม ส่งผ​ ลใ​ห้ท​ รัพยากรน​ ํ้า​
เสื่อมโทรมล​ ง ทั้ง​ทาง​ด้านป​ ริมาณแ​ ละ​คุณภาพ การ​อนุรักษ์ท​ รัพยากร​นํ้า เพื่อ​ให้​มี​นํ้า​ใช้​อย่าง​ยั่งยืนจ​ ึง​เป็นส​ ิ่ง​
จำ�เป็น ส่วน​ใหญ่​ของน​ ํ้าใ​น​โลกน​ ี้เ​ป็น​นํ้า​ใน​ทะเล​และม​ หาสมุทร คือ เป็นป​ ริมาณร​ ้อยล​ ะ 97.2 ของป​ ริมาณน​ ํ้า​
ใน​โลกท​ ั้งหมด ถัดม​ า​ร้อย​ละ 2.15 เป็นน​ ํ้าแ​ ข็งท​ ี่อ​ ยู่​ใน​บริเวณข​ ั้วโ​ลก นอกจากน​ ั้นเ​ป็น​นํ้า​ใน​ส่วนอ​ ื่นๆ ของ​โลก
เช่น นํ้า​ใต้ดิน นํ้าใ​น​ทะเลสาบ นํ้าใ​นบ​ รรยากาศ นํ้า​ในแ​ ม่นํ้า​ลำ�คลอง

       ชีวิต​ของ​ชาว​ไทย​มี​ความ​เกี่ยวข้อง​กับ​นํ้า​มา​โดย​ตลอด เนื่องจาก​มี​อาชีพ​หลัก​ใน​การ​ทำ�​ไร่ ทำ�​นา ที่​
ต้อง​ใช้​นํ้า​เป็น​ปัจจัย​สำ�คัญ ชาว​ไทย​ไม่​ว่า​จะ​ตั้ง​ถิ่นฐาน​อยู่ ณ ที่​ใด ก็​มัก​ปลูก​สร้าง​บ้าน​เรือน​อยู่​ใกล้​แม่นํ้า​
เสมอ ดัดแปลง​ที่ดิน​แถบ​ลุ่ม​นํ้า​ให้​กลาย​เป็น​นา สวน ติดต่อ​ไป​มา​กัน​มา​ทาง​แม่นํ้า​ลำ�คลอง นอกจาก​นั้น​ยัง​
สร้างป​ ระเพณี วัฒนธรรม และศ​ ิลปว​ รรณกรรมท​ ี่เ​กี่ยวข้องก​ ับน​ ํ้าข​ ึ้นม​ ากมาย อย่างไรก​ ็ตาม ในส​ ภาพป​ ัจจุบัน​
ก็เ​ปลี่ยนแปลงไ​ปจ​ นเ​กือบห​ มดส​ ิ้นแ​ ล้ว เมื่อป​ ระเทศไ​ด้ห​ ันม​ าเ​ร่งรัดพ​ ัฒนาอ​ ุตสาหกรรม ถนนห​ นทางถ​ ูกส​ ร้าง​
ขึ้น​เพื่อใ​ช้​เป็น​เส้น​ทางค​ มนาคม แทนก​ าร​ขนส่ง​ทางน​ ํ้า แม่นํ้าล​ ำ�คลอง​ถูก​ปล่อยป​ ละ​ละเลย บาง​แห่ง​ถูกถ​ ม ม​ี
การ​สร้าง​เขื่อน​ชลประทาน และ​เขื่อน​พลังงาน​ไฟฟ้า กั้น​ทาง​นํ้า​สาย​ต่างๆ มี​การ​ระบาย​นํ้า​โสโครก​จาก​ชุมชน
และโ​รงงาน​อุตสาหกรรมล​ งส​ ู่​แม่นํ้า ลำ�คลอง จนเ​กิด​การ​เน่า​เหม็น และ​เกิดม​ ลพิษ​มากข​ ึ้นท​ ุกที นับเ​ป็นส​ ิ่ง​ที่​
ส่ง​ผลกร​ ะ​ทบต​ ่อช​ ีวิต ความเ​ป็น​อยู่แ​ บบช​ าว​ไทยอ​ ย่างม​ าก
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97