Page 94 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 94
3-84 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.3 ปญั หาค ณุ ภาพน า้ํ อาจเกดิ ข ึน้ ไดท้ ัง้ จ ากธ รรมชาตแิ ละก ารกร ะท �ำ ของม นษุ ยป์ ญั หาจ ากธ รรมชาติ
อาจเป็นผลส ืบเนื่องจากปัญหาก ารข าดแคลนนํ้า ปริมาณน ํ้าจ ืดมีน้อยเกินไปที่จะเจือจ างส ิ่งป นเปื้อนในแ หล่ง
นํ้า ในช ่วงน ํ้าท ่วม กระแสน ํ้าจ ะชะล้างเอาสิ่งสกปรกไปในแ หล่งน ํ้า ทำ�ให้น ํ้าม ีคุณภาพไม่เหมาะส มท ี่จ ะนำ�มา
ใช้ นอกจากน ี้น ํ้าในแ หล่งน ํ้าธ รรมชาติบ างแ ห่งม ีก ารป นเปื้อนข องแ ร่ธ าตุบ างช นิดม ากเกินไปจ นไม่ส ามารถน ำ�
มาใช้ได้ เช่น นํ้าท ี่ม ีส ารหนูห รือม ีค วามก ระด้างส ูง ขณะเดียวกัน น ํ้าจ ากบ างแ หล่งอ าจม ีแ ร่ธ าตุท ี่จ ำ�เป็นต ่อก าร
ดำ�รงชีวิตของมนุษย์น้อยเกินไปได้เช่นกัน เช่น นํ้าที่ขาดธาตุฟลูออรีน ส่วนปัญหาคุณภาพนํ้าที่เกิดจากการ
กระทำ�ของมนุษย์ ได้แก่ การปล่อยของเสียในร ูปแบบต่างๆ ลงส ู่แ หล่งน ํ้า ก่อให้เกิดม ลพิษท างนํ้า
3. การจ ดั การทรพั ยากรน ้ํา
การจ ัดการเพื่ออ นุรักษ์แ หล่งน ํ้า มีค วามส ำ�คัญแ ละจ ำ�เป็นอ ย่างย ิ่ง การร ู้จักใช้น ํ้าอ ย่างเหมาะส มแ ละ
ใหเ้ กิดป ระโยชนส์ ูงสดุ รวมถ งึ ก ารจ ดั หาน ํา้ ใหม้ ใี ชเ้ พียงพ อก บั ค วามต อ้ งการ ทัง้ ในด า้ นก ารอ ปุ โภคบ รโิ ภค และ
ด้านการผลิตจ ะต ้องได้ร ับก ารพิจารณาดำ�เนินการอ ย่างเร่งด ่วน วัตถุประสงค์ของการอนุรักษ์แ หล่งน ํ้าเพื่อให้
มีน ํ้าใช้เพียงพ อก ับค วามต ้องการ ทั้งในด ้านป ริมาณแ ละค ุณภาพต รงก ับค วามต ้องการ มนุษย์ใช้น ํ้าท ั้งในก าร
ผลติ แ ละก ารบ ริโภค เพือ่ ก ่อใหเ้ กดิ ค วามม ั่นคงท างเศรษฐกิจ สงั คม และก ารเมือง การอ นรุ กั ษท์ รพั ยากรแ หล่ง
นํ้าส ามารถด ำ�เนินการได้ห ลายลักษณะด้วยกัน ดังนี้
3.1 การป ลูกป่าต้นนํ้า เป็นการป ลูกป ่าบริเวณต ้นนํ้าเพื่อเป็นตัวกักเก็บน ํ้าตามธรรมชาติ ทั้งนํ้าบน
ดินแ ละน ํ้าใต้ดิน ให้ไหลล งส ู่ท ี่ต ํ่าช้าล ง รวมท ั้งย ังช ่วยป ้องกันก ารพ ังท ลายข องด ินแ ละป ้องกันน ํ้าท ่วมอ ีกด ้วย
3.2 การป รับปรุงร ะบบช ลประทาน สาเหตทุ ีท่ ำ�ใหโ้ ครงการช ลประทานบ างโครงการต ้องป ระสบค วาม
ล้มเหลวหรือด้อยประสิทธิภาพ คือ การขาดการบำ�รุงรักษาอ ย่างส มํ่าเสมอ ตัวอย่างของปัญหาที่พบ ได้แก่
การแตกร้าวของคูคลองคอนกรีตส่งนํ้า ความเสียหายที่มีต่อระบบควบคุมการจ่ายนํ้า และการเจริญเติบโต
ของพืชนํ้าช นิดต ่างๆ
3.3 ปัญหาการบำ�รุงรักษาชลประทานอาจแก้ไขได้เป็นบางส่วนในระดับไร่นา โดยการสนับสนุนให้
มีก ารจ ัดก ลุ่มเกษตรกร แล้วให้ค วามร ู้แ ละให้ค ำ�แนะนำ�การบ ำ�รุงร ักษา เพื่อให้ก ลุ่มเกษตรกรเหล่าน ี้ทำ�หน้าที่
ควบคุมด ูแลร ะบบชลประทาน
3.4 การป้องกันนํ้าท่วมและความแห้งแล้ง ปัจจุบันมีการศึกษาเพื่อหามาตรการที่เหมาะสมในการ
ป้องกันน ํ้าท่วมในห ลายๆ พื้นที่ การดำ�เนินงานที่เกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์นํ้าท ่วม จำ�แนกออกเป็น 4 เรื่อง
ได้แก่ การพยากรณ์นํ้าท่วม การป้องกันนํ้าท่วม การเตือนภัยนํ้าท่วม และการแ ก้ไขปัญหานํ้าท่วม ในพื้นที่
ชนบทส ่วนม ากย ังข าดก ารด ำ�เนินง านในส ่วนท ี่เกี่ยวก ับก ารพ ยากรณ์แ ละก ารป ้องกันน ํ้าท ่วม แต่ก ารเตือนภ ัย
และการแก้ไขปัญหานํ้าท่วมได้มีส่วนช่วยลดความเสียหายจากนํ้าท่วมได้มาก จึงควรกำ�หนดแนวทางหรือ
วิธีก ารป ฏิบัติส ำ�หรับห น่วยง านท ้องถ ิ่นในก ารป ระสานง านแ ก้ไขป ัญหาน ํ้าท ่วมในจ ังหวัดท ี่ม ีป ัญหาน ํ้าท ่วมอ ยู่
เสมอ นอกจากนั้นยังค วรมีกองทุนสำ�รองสำ�หรับใช้ในภ าวะฉุกเฉิน เพื่อให้สามารถดำ�เนินการแก้ไขปัญหาได้
ทันทีโดยไม่ต ้องรอความช่วยเหลือจากที่อื่น