Page 89 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 89
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3-79
จากส มการจ ะเห็นไดว้ ่า กรณที ีท่ รัพยากรธรรมชาตมิ อี ยูใ่นป ริมาณจ ำ�กัด แตจ่ ำ�นวนป ระชากรเพิ่มข ึ้น
กจ็ ะส ง่ ผ ลใหป้ รมิ าณท รพั ยากรธรรมชาตทิ ใี่ ชเ้ ฉลีย่ ต อ่ ห วั ป ระชากรล ดล ง ผลกร ะท บน จี้ ะเกีย่ วโยงไปถ งึ คณุ ภาพ
ช ีวิตที่ล ดลง และเกิดปัญหาทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองตามมา วิธีแก้ไขที่เหมาะสมและตรงจุด
ที่สุดก็คือ ลดการเติบโตของป ระชากรล ง ซึ่งจะทำ�ให้ส ามารถน ำ�ทรัพยากรธรรมชาติท ี่ม ีอ ยู่มาใช้ได้นานขึ้น
ในแง่ของทรัพยากรธรรมชาตินั้น บางครั้งเราอาจต้องทำ�ความเข้าใจความหมายเป็น 2 ประการ
คือ ปริมาณทรัพยากรธรรมชาติทั้งหมดที่มีอยู่ในโลกและทรัพยากรธรรมชาติสำ�รอง ที่หมายถึง ปริมาณ
ทรัพยากรธรรมชาติซึ่งสามารถนำ�ขึ้นมาใช้ได้อย่างคุ้มค่าทางเศรษฐกิจโดยอาศัยเทคโนโลยีในปัจจุบัน ดัง
นั้น แม้ว่าท รัพยากรธรรมชาติช นิดหนึ่งจ ะม ีอ ยู่มากในโลก แต่ถ้าเราไม่ส ามารถนำ�ขึ้นมาใช้ได้อ ย่างค ุ้มค่าทาง
เศรษฐกิจ ก็ยังไม่มีประโยชน์ต่อมนุษย์โดยตรง ปริมาณทรัพยากรธรรมชาติสำ�รองนั้นอาจเปลี่ยนแปลงได้
ถ้าม ีก ารป รับปรุงท างด ้านเทคโนโลยี การค ้นหาแ ละก ารข ุดข ึ้นม าใช้ให้ด ีก ว่าป ัจจุบัน ดังน ั้นส มการแ สดงค วาม
สัมพันธ์ร ะหว่างทรัพยากรธรรมชาติและป ระชากร จึงอ าจแก้ไขเป็นด ังนี้
ทรัพยากรธรรมชาติท ี่ใช้เฉลี่ยต ่อห ัวประชากร = ทรัพยากรธรรมชาติสำ�รอง
ประชากร
ปริมาณทรัพยากรธรรมชาติสำ�รองอาจเพิ่มขึ้นได้หลายทาง เช่น มีการค้นพบแหล่งใหม่ การใช้ซํ้า
และการใช้หมุนเวียน ความแตกต่างของการใช้ซํ้าและการใช้หมุนเวียนก็คือ การใช้ซํ้าเป็นการนำ�ของที่
ผลิตขึ้นมาแล้วใช้ซํ้าแล้วซํ้าอีก แต่การใช้หมุนเวียนเป็นการนำ�ของที่ใช้แล้วมาเปลี่ยนแปลงสภาพแล้ว
จึงผลิตขึ้นมาใหม่ ซึ่งอาจไม่ใช่ของเดิมก็ได้ ถ้าเราพิจารณาสมการข้างบนให้ละเอียด จะพบว่า ถ้าเรานำ�
ทรัพยากรธรรมชาติขึ้นมาใช้เกินความจำ�เป็น ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้เฉลี่ยต่อหัวของประชากรจะเพิ่มขึ้น
ด้วย ก็จ ะส่งผลให้ท รัพยากรธรรมชาติส ำ�รองถ ูกนำ�มาใช้มากข ึ้นและหมดไปเร็วข ึ้น อย่างไรก็ตาม ป ัญหาทาง
ด้านทรัพยากรธรรมชาติเป็นปัญหาท ี่ค่อนข้างซ ับซ้อนกว่าสมการข ้างบนมาก ตัวอย่างเช่น การนำ�เทคโนโลยี
บางอ ย่างม าใชใ้นก ารข ุดค ้นท รัพยากรธรรมชาตอิ าจก ่อป ัญหาท างด ้านส ิ่งแ วดล้อม และถ ึงแ ม้ว่าจ ะส ามารถน ำ�
ทรัพยากรธรรมชาติที่ห ายากข ึ้นมาใช้ได้ก ็จ ะมีร าคาแพง ดังน ั้น การนำ�ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้จึงต ้องค ำ�นึง
ทั้งเรื่องของร าคา ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และป ัญหาม ลพิษ
โดยทั่วไปแล้ว วัตถุประสงค์หลักของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ คือ การควบคุมระบบการใช้
แบบใช้แล้วทิ้ง (one way system) ดังท ี่ใช้อยู่ในป ระเทศพัฒนา ทำ�ให้ม ีก ารนำ�สารต่างๆ ขึ้นมาใช้ในร ะบบ
มากข ึ้นเรื่อยๆ โดยไม่ได้น ำ�ส่วนท ี่ท ิ้งไปแ ล้วกล ับม าใช้อ ีก ดัวอ ย่างเช่น กระบวนการบ รรจุห ีบห่อข องส ินค้าใน
ประเทศพัฒนา โดยเฉพาะป ระเทศสหรัฐอเมริกา มีการใช้แล้วทิ้งถึงร ้อยละ 65 พลาสติกร้อยล ะ 25 กระดาษ
ร้อยละ 15 ต่อปี เฉลี่ยแล้วคนอ เมริกัน 1 คน จะใช้ส ิ่งเหล่านี้ป ระมาณ 281 กิโลกรัม ซึ่งถ ้าป ระหยัดลงครึ่ง
หนึ่ง จะสามารถนำ�พลังงานไปใช้เป็นไฟฟ้าแก่ประชาชนได้ถึง 20 ล้านค นในแ ต่ละปี