Page 90 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 90

3-80 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

3. 	ผลกร​ ะ​ทบ​ของ​การใ​ช​้ทรพั ยากรธรรมชาตต​ิ ่อร​ ะบบ​นิเวศ

       ปัญหา​สำ�คัญ​ที่​เรา​ต้อง​เผชิญ​ใน​ระยะ 50 ปี ข้าง​หน้า อาจ​ไม่​ไช่​การ​ขาดแคลน​ทรัพยากรธรรมชาติ
แต่​อาจ​เกิด​จาก​การก​ระ​ทบ​กระเทือน​ต่อ​ระบบ​นิเวศ การ​ใช้​พลังงาน​และ​แร่​ธาตุ รบกวน​ต่อ​สภาวะ​สมดุล​ของ​
ระบบ​นิเวศ​ทั้ง​บน​ดิน ในน​ ํ้า และ​ใน​อากาศ เนื่องจาก​มนุษย์​ใช้​ประโยชน์​จาก​ทรัพยากรธรรมชาติ​จำ�นวน​มาก​
โดย​ปราศจาก​การ​จัดการ​ที่​เหมาะ​สม​ได้​ก่อ​ให้​เกิด​ปัญหา​อย่าง​รุนแรง เมื่อ​ทรัพยากรธรรมชาติ​เสื่อมโทรม​
ส่ง​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​ความ​สมดุล​ของ​ระบบ​นิเวศ​และ​ความ​หลาก​หลาย​ทาง​ชีวภาพ ตัวอย่าง​ที่​ชัดเจน​ของ​การ​ใช้​
ทรัพยากรธรรมชาติ​ที่ไ​ม่ถ​ ูกห​ ลักว​ ิชาการ หรือไ​ม่ค​ ำ�นึงถ​ ึงผ​ ลเ​สียท​ ี่จ​ ะเ​กิดข​ ึ้นภ​ ายห​ ลัง เช่น การใ​ช้ท​ รัพยากรน​ ํ้า
เมื่อท​ รัพยากรน​ ํ้าเ​กิดป​ ัญหาข​ าดแคลน จากก​ ารใ​ช้ส​ ารเ​คมีท​ างการเ​กษตร แล้วเ​กิดป​ นเ​ปื้อนล​ งส​ ู่แ​ หล่งน​ ํ้า หรือ​
การ​ใช้​ดินใ​นก​ ารเกษตรก​ รรมอ​ ย่างผ​ ิด​วิธี ไม่มี​การ​บำ�รุง​รักษาค​ ุณภาพข​ อง​ดิน การ​ปล่อย​ให้​ผิวด​ ิน​ปราศจาก​
พืช​ปกคลุม ทำ�ให้​สูญ​เสีย​ความ​ชุ่ม​ชื้น​ใน​ดิน การ​เพาะ​ปลูก​ที่​ทำ�ให้​ดิน​เสีย การ​ใช้​ปุ๋ย​เคมี​และ​สาร​เคมี​กำ�จัด​
ศัตรู​พืช​เพื่อ​เร่ง​ผลิตผล ทำ�ให้​ดิน​เสื่อม​คุณภาพ​และ​มี​สาร​พิษ​ตกค้าง​อยู่​ใน​ดิน การ​บุกรุก​เข้าไป​ใช้​ประโยชน์​
ที่ดิน​ใน​เขต​ป่า​ไม้​บน​พื้นที่​ที่​มี​ความ​ลาด​ชัน​สูง สิ่ง​เหล่า​นี้​จะ​ส่ง​ผล​ต่อ​สิ่ง​มี​ชีวิต​ที่​อาศัย​อยู่ ทั้ง​ใน​ดิน​และ​ใน​นํ้า
ทำ�ให้​สภาวะ​แวดล้อม​ที่​เคย​เหมาะ​สม​เปลี่ยนแปลง​ไป สิ่ง​มี​ชีวิต​เหล่า​นั้น​ไม่​สามารถ​ปรับ​ตัว​ให้​เข้า​กับ​สภาวะ​
แวดล้อม​ที่​เปลี่ยนแปลง​ไป ทำ�ให้​เกิด​การ​ตาย สมดุล​ธรรมชาติ​เสีย​และ​ส่ง​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​สิ่ง​มี​ชีวิต​ที่​อื่นๆ ใน​
โซ่อ​ าหาร​และส​ ายใย​อาหาร

       การ​สร้าง​เขื่อน​กั้น​นํ้า โดย​มิได้​มี​การ​วางแผน​ทาง​ด้าน​สิ่ง​แวดล้อม​อย่าง​รัดกุม เป็น​ตัวอย่าง​การนำ�​
ทรัพยากรธรรมชาติ​มา​ใช้ โดย​ขาด​การ​วางแผน​อย่าง​ถูก​ต้อง ทำ�ให้​เกิด​ผล​เสีย​อย่าง​มากมาย​ต่อ​สิ่ง​แวดล้อม​
และ​มนุษย์​โดยตรง เช่น นํ้า​ที่​ถูก​กัก​ไว้​เหนือ​เขื่อน​เป็น​บริเวณ​กว้าง ทำ�ให้​พื้นที่​ซึ่ง​เคย​อุดม​สมบูรณ์​ใน​การ
เกษตร​กรรม​ต้อง​เสีย​ไป คิด​เป็น​มูลค่า​มหาศาล​เกิน​กว่า​มูลค่า​ของ​ปลา​ที่​จับ​ขึ้น​มา​จาก​อ่าง​นํ้า​มากมาย และ​
บริเวณ​ใต้​เขื่อน​ซึ่ง​การ​ไหล​ของ​นํ้า​ถูก​ควบคุม​ทำ�ให้​ปุ๋ย​ธรรมชาติ​ซึ่ง​เคย​ถูก​พัด​พา​มา​ต้อง​สูญ​เสีย​ไป พื้น​ดิน
​เลว​ลง​อย่าง​รวดเร็ว​จน​จำ�เป็น​ต้อง​ใช้​ปุ๋ย​วิทยาศาสตร์ ซึ่ง​เกิน​กำ�ลัง​ทาง​เศรษฐกิจ​ของ​เกษต​รกร ก่อ​ให้​เกิด​ผล
เ​สีย​หายอ​ ย่างม​ าก​ต่อ​ผลผลิต​ของช​ าติ

4. 	การจ​ ดั การท​ รัพยากรธรรมชาติ

       คำ�​ว่า การจ​ ัดการ (management) หมายถ​ ึง การด​ ำ�เนินง​ านอ​ ย่างม​ ีป​ ระสิทธิภาพใ​นร​ ูปแ​ บบต​ ่างๆ ทั้ง​
ด้านก​ ารจ​ ัดหา การเ​ก็บร​ ักษา การซ​ ่อมแซม การใ​ชอ้​ ย่างป​ ระหยัด และก​ ารส​ งวนร​ ักษา เพื่อใ​ห้ก​ ิจกรรมท​ ีด่​ ำ�เนิน​
การน​ ั้นส​ ามารถใ​หผ​้ ลย​ ั่งยืนต​ อ่ ม​ วลม​ นษุ ยแ์​ ละธ​ รรมชาติ โดยห​ ลักก​ ารแ​ ลว้ “การจ​ ดั การ” จะต​ อ้ งม​ แ​ี นวทางก​ าร​
ดำ�เนิน​งาน กระบวนการ และ​ขั้น​ตอน รวม​ทั้งจ​ ุด​ประสงค์ใ​นก​ ารด​ ำ�เนิน​งานท​ ี่ช​ ัดเจน​แน่นอน

       จาก​คำ�​จำ�กัด​ความ​ข้าง​ต้น การ​จัดการ​ทรัพยากรธรรมชาติ หมาย​ถึง การ​ดำ�เนิน​งาน​ต่อทรัพยากร
ธรรมชาติ​อย่าง​มี​ประสิทธิภาพ ทั้ง​ใน​ด้าน​การ​จัดหา การ​เก็บ​รักษา การ​ซ่อมแซม การ​ใช้​อย่าง​ประหยัด
และ​การ​สงวน​รักษา เพื่อ​ให้​ทรัพยากรธรรมชาติ​นั้น​สามารถ​เอื้อ​อำ�นวย​ประโยชน์​แก่​มวล​มนุษย์​ได้​ใช้ได้​
อย่าง​ยาวนาน หรือ​อาจ​จะ​หมาย​ถึง​กระบวนการ​จัดการ แผน​งาน หรือ​กิจกรรม​ใน​การ​จัดสรร​และ​การ​ใช้​
ทรัพยากรธรรมชาติเ​พื่อ​สนอง​ความต​ ้องการ​ใน​ระดับ​ต่างๆ ของ​มนุษย์ และเ​พื่อ​ให้​บรรลุเ​ป้าห​ มาย​สูงสุด​ของ​
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95