Page 93 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 93

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3-83

1. 	ประโยชน์ข​ อง​ทรพั ยากรน​ ํ้า

       นํ้าเ​ป็นท​ รัพยากรท​ ี่​มีบ​ ทบาท​สำ�คัญต​ ่อก​ ารด​ ำ�รงช​ ีวิตข​ องม​ นุษย์ แหล่ง​นํ้าท​ ี่ม​ นุษย์​นำ�​มาใ​ช้ป​ ระโยชน์
เพื่อ​การ​ดำ�รง​ชีวิต และ​กิจกรรม​ทาง​เศรษฐกิจ​ที่​สำ�คัญ ได้แก่ นํ้า​จาก​แหล่ง​นํ้า​ผิว​ดิน เช่น ทะเลสาบ แม่นํ้า
ลำ�คลอง แหล่งน​ ํ้าใ​ต้ดิน แหล่ง​นํ้า​ทะเล และ​มหาสมุทร และ​นํ้าใ​น​บรรยากาศ ซึ่งต​ กลง​มา​เป็น​ฝน ประโยชน์​ที​่
มนุษย์​ได้​รับจ​ ากน​ ํ้า กล่าว​โดยส​ รุป​ได้​ดังนี้

       1.1		การ​อุปโภค​และ​บริโภค มนุษย์จ​ ำ�เป็น​ต้อง​ใช้​นํ้า​เพื่อ​การอ​ ุปโภค​บริโภคอ​ ยู่​ตลอดเ​วลาอ​ ย่าง​ขาด​
เสยี ไ​มไ่​ด้ นํา้ ท​ ีใ่​ชใ้​นก​ ารอ​ ปุ โภคบ​ ริโภคเ​ป็นน​ ํ้าจ​ ืดท​ ีส​่ ะอาด มนุษยต์​ ้องการน​ ํ้าจ​ ากแ​ หล่งน​ ํ้าจ​ ดื เ​พือ่ น​ �ำ ​มาป​ รบั ปรุง​
คุณภาพ​ให้​เหมาะส​ มก​ ่อน​ที่จ​ ะน​ ำ�​มา​ใช้​ในก​ าร​อุปโภคบ​ ริโภค

       1.2 	 การเกษตรก​ รรม มนุษย์ใ​ช้น​ ํ้า​เพื่อก​ าร​เพาะ​ปลูกแ​ ละ​เลี้ยงส​ ัตว์ เพราะ​พืชแ​ ละส​ ัตว์ต​ ้องใ​ช้​นํ้า​เพื่อ​
การด​ ำ�รงช​ ีวิต การเกษตรก​ รรมจ​ ะ​ทำ�ได้ด​ ี​ในบ​ ริเวณท​ ี่ม​ ี​แหล่งน​ ํ้าอ​ ุดม​สมบูรณ์​เท่านั้น

       1.3 	 การอ​ ตุ สาหกรรม ในโ​รงง​ าน​ อุตส​ หก​ รรมจ​ ำ�เป็นต​ ้องใ​ชน้​ ํ้าใ​นข​ ั้นต​ อนต​ ่างๆ เช่น กระบวนการผ​ ลิต
การ​ระบาย​ความร​ ้อน การ​ชะล้าง​และร​ ะบาย​ของ​เสีย

       1.4 	 การ​คมนาคม​ขนส่ง การ​คมนาคม​ขนส่ง​ทาง​นํ้า​จัด​เป็น​เส้น​ทาง​คมนาคม​ที่​สำ�คัญ​มาก ทั้งนี้​
เนื่องจาก​สามารถ​ขนส่ง​สินค้า​และ​ผู้​โดยสาร​เป็น​จำ�นวน​มาก และ​ค่า​ใช้​จ่าย​ถูก​กว่า​การ​ขนส่ง​ทาง​บก​และ​ทาง​
อากาศ

       1.5 	 การผ​ ลิต​พลังงาน พลังงาน​นํ้า​เป็น​พลังงาน​ที่​สำ�คัญ​อย่าง​หนึ่งท​ ี่ใ​ช้​สำ�หรับ​ผลิตก​ ระแสไ​ฟฟ้า ซึ่ง​
สามารถ​นำ�​พลังงาน​ไฟฟ้า​ที่​ผลิต​ได้​มา​ใช้​อย่าง​กว้าง​ขวาง​ทั้ง​ทาง​ด้าน​การเกษตร อุตสาหกรรม การ​ดำ�รง​ชีวิต​
ประจำ�​วัน การอ​ ำ�นวยค​ วามส​ ะดวก​ต่างๆ

       1.6 	การท​ อ่ งเ​ทย่ี วแ​ ละพ​ กั ผ​ อ่ นห​ ยอ่ นใ​จ แหล่งน​ ํ้าต​ ่างๆ มักจ​ ะม​ ธี​ รรมชาตทิ​ ีส่​ วยงาม เหมาะแ​ กก่​ ารท​ ่อง​
เที่ยวแ​ ละ​พักผ​ ่อนห​ ย่อน​ใจ

2. 	ปญั หาข​ อง​ทรัพยากรน​ ํ้า

       ใน​ปัจจุบัน​ปัญหา​ด้าน​ทรัพยากร​นํ้า​ทั้ง​ทาง​ปริมาณ​และ​คุณภาพ​มี​ความ​รุนแรง​อย่าง​ยิ่ง ปัญหา​บาง​
อย่าง​เกิด​ขึ้น​ตาม​ธรรมชาติ โดย​มนุษย์​ไม่​สามารถ​ควบคุม​ได้ แต่​ปัญหา​บาง​อย่าง​เกิด​ขึ้น​จาก​การก​ระ​ทำ�​ของ​
มนุษย์​เอง ซึ่ง​อยู่ใ​น​วิสัยท​ ี่ม​ นุษย์​สามารถป​ รับปรุงแ​ ก้ไข​ได้

       2.1	 	ปัญหา​การ​ขาดแคลน​นํา้ อ​ าจเ​กิดจ​ ากป​ ริมาณ​นํ้า​ฝน​น้อยเ​กิน​ไป หรือ​ฝนต​ ก​ไม่ท​ ั่ว​ถึง หรือ​ไม่​ตก​
ต้องต​ ามฤ​ ดูกาล หรืออ​ าจเ​กิดจ​ ากก​ ารข​ าดก​ ารว​ างแผนก​ ารใ​ช้น​ ํ้าท​ ี่ด​ ี มีก​ ารใ​ช้น​ ํ้าอ​ ย่างฟ​ ุ่มเฟือยจ​ นท​ ำ�ให้ข​ าดน​ ํ้า​
บาง​เวลา หรือม​ ีก​ าร​ทำ�ลาย​ป่า​ไม้ ซึ่งเ​ป็น​แหล่งต​ ้นนํ้าล​ ำ�ธาร การ​ขาดแคลน​นํ้าท​ ำ�ให้​ต้อง​นำ�​นํ้า​จากแ​ หล่งอ​ ื่นม​ า​
ใช้ นอกจากจ​ ะ​ต้อง​เสียค​ ่าใ​ช้จ​ ่าย​สูงข​ ึ้น​และไ​ม่ส​ ะดวก​สบายแ​ ล้ว ความ​แห้งแ​ ล้งย​ ัง​อาจ​ทำ�ให้ก​ ารค​ มนาคม​ทาง​
นํ้า​ไม่ส​ ะดวก สัตว์​และพ​ ืช​ที่​ต้อง​อาศัยแ​ หล่งน​ ํ้า​ถูกท​ ำ�ลาย และ​เกิด​สภาพอ​ ากาศ​ร้อนจ​ ัดอ​ ย่าง​รุนแรงไ​ด้

       2.2		ปญั หาก​ ารเ​กดิ น​ า้ํ ท​ ว่ ม อ​ าจเ​กิดจ​ ากฝ​ นต​ กห​ รือห​ ิมะล​ ะลายอย่างห​ นักห​ รือต​ ิดต่อก​ ันเ​ป็นเวลาน​ าน
ประกอบก​ ับก​ ารข​ าดป​ ่าไ​ม้ท​ ี่ท​ ำ�​หน้าที่ซ​ ับน​ ํ้าไ​ว้ นํ้าใ​นแ​ หล่งน​ ํ้าเ​อ่อล​ ้นแ​ ละท​ ่วมภ​ ูมิประเทศท​ ี่เ​ป็นท​ ี่ล​ ุ่มต​ ํ่าอ​ ันเ​ป็น​
ถิ่นฐานท​ ี่ม​ นุษย์​อยู่ก​ ันอ​ ย่าง​หนาแ​ น่น ทำ�ให้​ที่อ​ ยู่อ​ าศัย ทรัพย์สิน​หรือแ​ ม้ก​ ระทั่ง​ชีวิตข​ องม​ นุษย์​ถูกท​ ำ�ลายโ​ดย​
กระแสน​ ํ้า หรือ​การท​ ่วม​ของ​นํ้า
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98