Page 88 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 88

3-78 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

            1) 	ทรพั ยากรธรรมชาติท​ ​ใี่ ช้แ​ ล้วไ​ม​ห่ มด หมายถ​ ึง ทรัพยากร​ที่​มี​ปริมาณห​ รือจ​ ำ�นวนม​ าก​เกิน​
ความต​ ้องการ เมื่อใ​ช้​แล้วธ​ รรมชาติม​ ีก​ าร​สร้าง​ขึ้นท​ ดแทนไ​ด้ แบ่ง​เป็น 2 ชนิด ดังนี้

                 (1) 	ทรัพยากรธรรมชาติ​ท่ี​ไม่มี​การ​เปลี่ยนแปลง ได้แก่ พลังงาน​จาก​ดวง​อาทิตย์ ​ลม
อากาศ

                 (2) 	ทรัพยากรธรรมชาติ​ทเ​ี่ ปลีย่ นแปลง​ได้ ได้แก่ ดิน นํ้า อากาศ การ​เปลี่ยนแปลง​เกิด​
ขึ้น​เนื่องจาก การ​ใช้ท​ รัพยากรธรรมชาติ​อย่าง​ไม่​ถูก​ต้อง​ของ​มนุษย์ ทำ�ให้​ทรัพยากรธรรมชาติเ​สื่อม​คุณค่าล​ ง​
ได้ แต่ธ​ รรมชาติ​สามารถจ​ ะ​ปรับปรุงใ​ห้ก​ ลับค​ ืนดี​ได้​โดย​กระบวนการ​ของธ​ รรมชาติ​เอง

            2) 	ทรพั ยากรธรรมชาตท​ิ ใ​ี่ ชแ​้ ลว้ ห​ มดไ​ป หมายถ​ งึ ทรพั ยากรท​ มี​่ ป​ี รมิ าณห​ รอื จ​ �ำ นวนจ​ �ำ กดั เมือ่ ​
ใช้แ​ ล้วต​ ้อง​ใช้​เวลา​นานใ​น​การ​สร้างท​ ดแทน แบ่ง​ได้ 3 ชนิด ดังนี้

                 (1) 	ทรพั ยากรธรรมชาติท​ ใ​ี่ ช้​แลว้ ​หมดส​ ิ้นไ​ป แต่ส​ ามารถร​ ักษาใ​ห้​คง​ไว้​ได้ หรือ​สามารถ​
ปรับปรุงใ​ห้​คืน​สภาพ​ปกติ ถ้า​ยัง​ไม่ส​ ูญพ​ ันธุ์​ไป ได้แก่ ป่าไ​ม้ สัตว์ป​ ่า มนุษย์

                 (2) 	ทรพั ยากรธรรมชาตท​ิ ห​ี่ มดส​ นิ้ ไ​ปจ​ นห​ มดส​ ภาพแ​ ลว้ สามารถน​ �ำ ​มาป​ ระดษิ ฐใ​์ ชใ​้ หมไ​่ ด้
ได้แก่ แร่ธาตุ

                 (3) 	ทรัพยากรธรรมชาติ​ท่ี​ใช้​แล้ว​หมด​ไป นำ�​กลับ​มา​ใช้​อีก​ไม่​ได้ ได้แก่ เชื้อ​เพลิง​ชนิด​
ต่างๆ สามารถใ​ช้ได้​เพียง​ครั้งเ​ดียว​เท่านั้น

       ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นป​ ัจจัยท​ ีส่​ ำ�คัญต​ ่อก​ ารด​ ำ�รงช​ ีวิตข​ องม​ นุษย์ เป็นท​ ั้งป​ ัจจัยพ​ ื้นฐ​ านใ​นก​ ารด​ ำ�รง​
ชวี ติ และป​ จั จยั ใ​นก​ ารอ​ �ำ นวยค​ วามส​ ะดวก เมือ่ จ​ �ำ นวนป​ ระชากรเ​พิม่ ม​ ากข​ ึน้ ความต​ อ้ งการท​ รพั ยากรธรรมชาต​ิ
จงึ เ​พิม่ ข​ ึน้ ต​ าม เนือ่ งจากท​ รพั ยากรธรรมชาตม​ิ ห​ี ลายช​ นดิ ดงั น​ ัน้ การใ​ชท​้ รพั ยากรธรรมชาตแ​ิ ตล่ ะช​ นดิ ห​ ากข​ าด​
ความร​ ู้ค​ วาม​เข้าใจ​ในก​ าร​ใช้​ที่เ​หมาะส​ ม​แล้วจ​ ะท​ ำ�ให้ม​ ีก​ ารใ​ช้​ทรัพยากรธรรมชาติ​ชนิดน​ ั้นๆ อย่างฟ​ ุ่มเฟือยจ​ น​
เกดิ ก​ ารข​ าดแคลนแ​ ละเ​สือ่ มโทรม รวมท​ ัง้ อ​ าจส​ ง่ ผ​ ลกร​ ะท​ บต​ อ่ ส​ ิง่ แ​ วดลอ้ ม ทัง้ ต​ อ่ ท​ รพั ยากรธรรมชาตด​ิ า้ นอ​ ืน่ ๆ
และต​ ่อก​ ารเ​กิดภ​ าวะม​ ลพิษข​ องส​ ิ่งแ​ วดล้อมไ​ดใ้​นท​ ี่สุด และจ​ ะม​ ผี​ ลกร​ ะท​ บต​ ่อค​ ุณภาพช​ ีวิตข​ องม​ นุษยโ์​ดยตรง
การ​ประยุกต์ว​ ิทยาศาสตร์แ​ ละ​เทคโนโลยีใ​น​การอ​ นุรักษ์​ทรัพยากรธรรมชาติ จึง​นับ​ว่า​เป็น​มาตรการท​ ี่​สำ�คัญ​
และจ​ ำ�เป็นอ​ ย่างย​ ิ่งใ​นก​ ารร​ ักษาร​ ะดับก​ ารพ​ ัฒนาด​ ้านอ​ ุตสาหกรรม เกษตรกรรมแ​ ละอ​ ื่นๆ ใหส้​ ูงอ​ ยูต่​ ลอดเ​วลา
อย่างไร​ก็ตาม ต้อง​คำ�นึง​ถึง​การ​รักษา​สภาพ​แวดล้อม​ให้​อยู่​ใน​ระดับ​ที่​เหมาะ​สม​ด้วย เพื่อ​ให้​เกิด​ความ​สมดุล​
ระหว่าง​การพ​ ัฒนา​กับค​ ุณภาพ​สิ่งแ​ วดล้อม​ไป​พร้อมๆ กัน ดังท​ ี่​เรียกก​ ัน​ว่า การพ​ ัฒนาท​ ี่ย​ ั่งยืน

2. 	ความ​สัมพนั ธ​์ระหวา่ ง​ทรัพยากรธรรมชาตแิ​ ละป​ ระชากร

       สาเหตุ​หนึ่ง​ที่​มี​การ​ใช้​ทรัพยากรธรรมชาติเ​พิ่ม​มาก​ขึ้น เนื่องจากก​ าร​เพิ่ม​ของ​จำ�นวน​ประชากร​อย่าง​
รวดเร็ว จาก​ความ​สัมพันธ์​นี้​อาจ​สร้าง​สมการ​ง่ายๆ เพื่อ​แสดง​ให้​เห็น​ชัดเจน​ว่า ทรัพยากรธรรมชาติม​ ี​ความ​
สัมพันธ์ก​ ับ​ประชากรไ​ด้ และ​ถ้า​จะแ​ ก้ไขค​ วร​จะ​ทำ�​อย่างไร

ทรัพยากรธรรมชาติ​ที่ใ​ช้​เฉลี่ยต​ ่อ​หัว​ประชากร   =     ทรัพยากรธรรมชาติ​ทั้งหมด
                                                                ประชากร
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93