Page 83 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 83
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3-73
เสียงท ี่จัดว ่าด ังร บกวน คือ เสียงท ี่มนุษย์ไม่ต้องการได้ยินหรือไม่พ ึงป ระสงค์จะรับรู้ ซึ่งความร ู้สึก
ต่อเสียงนี้จะมีความแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล เสียงจากแหล่งกำ�เนิดเดียวกันอาจเป็นเสียงรบกวนของ
คนห นึ่ง ในข ณะท ี่อีกค นห นึ่งช อบแ ละอ ยากได้ยิน เช่น เสียงด นตรีร ็อก เสียงจ ากเครื่องยนต์ จะเห็นได้ว่าการ
ที่จ ะต ัดสินว ่าเสียงใดร บกวนห รือไม่น ั้น มเีรื่องข องค วามร ู้สึกข องม นุษยเ์ข้าม าเกี่ยวข้องในก ารพ ิจารณา ทำ�ให้
การศึกษาในเรื่องม ลพิษทางเสียงน ั้นมีความซับซ ้อนและมีรายละเอียดมาก
เสียงสามารถว ัดได้โดยใช้ห น่วยว ัด “เดซิเบล” (decibel, dB) ขึ้นอยู่ก ับค วามด ัง หน่วยเดซิเบลไม่
ได้วัดปริมาณของสิ่งใด แต่เป็นการแสดงให้เห็นอัตราส่วนการเปรียบเทียบของความเข้มเสียงชนิดหนึ่งต่อ
อีกชนิดหนึ่งเท่านั้น โดยค นปกติส ามารถรับเสียงได้สูงสุด 130 เดซิเบล ทุกๆ 10 เดซิเบล แสดงให้รู้ว่าม ีการ
เปลี่ยนแปลงในค วามเข้ม 10 เท่า เช่น ระดับเสียง 100 เดซิเบล มีค่าค วามเข้มมากกว่าระดับเสียง 90 เดซิเบล
อยู่ 10 เท่า ระดับเสียง 110 เดซิเบล จะม ีความเข้มเสียงเป็น 100 เท่าข องร ะดับเสียง 90 เดซิเบล
4.1 แหล่งกำ�เนิดม ลพิษทางเสยี ง แหล่งก ำ�เนิดม ลพิษทางเสียงท ี่สำ�คัญอาจแ บ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ
4.1.1 เสยี งจ ากย านพ าหนะ เกิดข ึ้นไดท้ ั้งท างบ กแ ละท างน ํ้า เสียงจ ากย านพ าหนะท างบ กท ีเ่ป็น
ปัญหาส ่วนใหญ่เกิดข ึ้นในบ ริเวณท ี่ม ีก ารจ ราจรห นาแ น่น และก ารป รับแ ต่งเครื่องยนต์เพื่อให้เสียงด ังม ากข ึ้น
ส่วนย านพาหนะท างนํ้าที่มีเสียงด ังมาก ได้แก่ เรือหางยาว และเรือเร็วท ี่ใช้เครื่องยนต์ที่ม ีก ำ�ลังส ูง
4.1.2 เสียงจากโรงงานอุตสาหกรรม กระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมทั่วไปมักจะ
เป็นแ หล่งก ำ�เนิดเสียง ซึ่งม ักเกิดจ ากก ารท ำ�งานข องเครื่องจักรก ล โรงงานท ี่ม ีเสียงด ังม าก ได้แก่ โรงงานแ ก้ว
โรงงานผลิตและแปรรูปโลหะ โรงงานทอผ้า
4.1.3 เสยี งจากการก่อสรา้ ง ในการก่อสร้างสิ่งต่างๆ เช่น อาคารบ้านเรือน ถนน จำ�เป็นต้อง
ใช้เครื่องจักรก ลในก ารก ่อสร้าง เสียงท ี่เกิดขึ้นนอกจากจ ะเป็นเสียงข องเครื่องจักรก ลแล้วอ าจมีเสียงข ุดเจาะ
เสียงต อกเสาเข็มในสถานที่ก่อสร้างด้วย
4.1.4 สถานบันเทิง สถานบันเทิงที่ใช้ดนตรีเป็นส่วนประกอบเพื่อสร้างความบันเทิง เช่น
ดิสโกเธค คอนเสิร์ต ไนต์คลับ เป็นแหล่งกำ�เนิดเสียงดังรบกวนได้เช่นกัน
4.2 อันตรายจากมลพิษทางเสียง แบ่งเป็นอันตรายต่อการได้ยิน และอันตรายต่อร่างกายและ
จิตใจ รายละเอียดด ังนี้
4.2.1 อนั ตรายต อ่ ก ารไดย้ นิ การได้ยินเสียงด ังต ิดต่อก ันเป็นเวลาน านๆ จะท ำ�ให้ห ูช ั้นในเสื่อม
สภาพล งจ นเกิดก ารส ูญเสียก ารได้ยิน หรือได้ยินน ้อยล งท ีเ่รียกว ่าห ูตึงได้ หากย ังได้ยินเสียงด ังก ล่าวต ่อเนื่อง
ไปอ ีกก อ็ าจส ูญเสียก ารได้ยินอ ย่างถ าวร ทีเ่รียกว ่าห หู นวก ในบ างค รั้งถ ้าไดร้ ับฟ ังเสียงด ังม ากเกินไปอ าจท ำ�ให้
แก้วหูฉีกข าดแ ละเกิดอาการหูห นวกได้ทันที
4.2.2 อันตรายต่อร่างกายและจิตใจ การได้รับฟังเสียงดังหรือเสียงที่ก่อให้เกิดความรำ�คาญ
อาจส ง่ ผ ลต ่อจ ิตใจ เกดิ ค วามเครียด หงดุ หงดิ รบกวนการพ ักผ ่อน รบกวนส มาธใิ นก ารท ำ�งาน และก ารต ิดตอ่
สื่อสาร หากมีผ ลต ่อจ ิตใจอ ย่างต่อเนื่องก็อาจส่งผ ลให้เกิดโรคต่อร ่างกายได้ เช่น อาการปวดศีรษะ คลื่นไส้
อาเจียน ความดันโลหิตส ูง แผลในกระเพาะอ าหาร โรคห ัวใจ และโรคต่อมไทรอยด์เป็นพิษ