Page 78 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 78

3-68 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ที่​ชัดเจน​เป็นการ​ปล่อย​นํ้า​เสีย​หรือ​ของ​เสีย​ลง​สู่​แหล่ง​นํ้า​โดย​ไม่​สามารถ​ระบุ​ตำ�แหน่ง​จุด​ที่​ปล่อย​ให้​ชัดเจน​ได้
เช่น การช​ ะล้าง​ของเ​สีย​หรือ​นํ้า​เสีย​จาก​การเกษตร จาก​ขยะม​ ูลฝอยห​ รือข​ องเ​สียอ​ ันตรายท​ ี่ถ​ ูกฝ​ ังห​ รือ​กอง​ทิ้ง​
กระจัดกระจายล​ งส​ ู่​แหล่งน​ ํ้า

       แหล่ง​กำ�เนิดข​ องส​ าร​มลพิษ​ทาง​นํ้า อาจจ​ ำ�แนกไ​ด้ด​ ังต​ ่อ​ไป​นี้
            1.1.1 	ชมุ ชน นํ้าเ​สียห​ รือข​ องเ​สียจ​ ากช​ ุมชนท​ ี่ถ​ ูกป​ ล่อยส​ ู่แ​ หล่งน​ ํ้าอ​ าจเ​กิดจ​ ากอ​ าคารบ​ ้านเ​รือน

อาคาร​พาณิชย์ สถาน​พยาบาล โรงแรม ตลาด ศูนย์การค้า นํ้า​เสีย​จาก​ชุมชน​ส่วน​ใหญ่​ประกอบ​ด้วย​สาร​
ปน​เปื้อนท​ ี่​เป็น​ทั้ง​สาร​อินทรีย์แ​ ละ​สา​รอ​นิ​นท​รีย์ใ​น​ปริ​มาณ​ต่างๆ กัน ได้แก่ สารซ​ ักฟอก ขยะม​ ูลฝอย นํ้ามัน
และส​ าร​พิษ​จาก​ยาน​พาหนะ และจ​ าก​ครัวเ​รือน

            1.1.2 	โรงงานอ​ ตุ สาหกรรม นํ้าเ​สยี ห​ รอื ข​ องเ​สยี จ​ ากโ​รงงานอ​ ตุ สาหกรรมม​ ล​ี ักษณะแ​ ตกต​ า่ งก​ ัน​
ไป​ตามป​ ระเภท​ของโ​รงงาน​อุตสาหกรรม โรงงาน​ผลิตภัณฑ์​อาหาร​มัก​จะม​ ีส​ ัดส่วนข​ องส​ าร​อินทรีย์​สูง โรงงาน​
อุตสาหกรรม​เคมี​มัก​จะ​มี​สัดส่วน​ของ​สา​รอ​นิ​นท​รีย์ สาร​เคมี และ​ของ​เสีย​ที่​เป็น​อันตราย​มากกว่า​สาร​อินทรีย์
เช่น ตะกั่ว​จากโ​รงงานแ​ บตเตอรี่

            1.1.3 	การเกษตรก​ รรม พื้นที่เ​กษตรกรรมเ​ป็นแ​ หล่งก​ ำ�เนิดม​ ลพิษท​ างน​ ํ้าท​ ีส่​ ำ�คัญอ​ ีกอ​ ย่างห​ นึ่ง
สารม​ ลพิษไ​ด้แก่ สาร​กำ�จัดศ​ ัตรูพ​ ืชแ​ ละ​ปุ๋ย​เคมี ซากพ​ ืชท​ ี่​เน่าเ​ปื่อย มูลส​ ัตว์ และป​ ุ๋ยอ​ ินทรีย์​ที่​ใช้ใ​นก​ าร​เพาะ​
ปลูก นอกจากน​ ี้ม​ ี​ตะกอนด​ ิน​ที่​ถูกช​ ะล้าง​จาก​แปลง​เพาะ​ปลูก รวม​ทั้งน​ ํ้า​เสียแ​ ละ​ของ​เสีย​อื่นๆ จาก​ฟาร์มเ​ลี้ยง​
สัตว์ เช่น ฟาร์มเ​ลี้ยงส​ ุกร นา​กุ้ง บ่อ​เลี้ยง​ปลา

       1.2 	 ปัญหา​มลพิษท​ างน​ า้ํ ได้แก่ ความเ​สื่อมโทรมข​ องแ​ หล่ง​นํ้า ​ดัง​ต่อไ​ปน​ ี้
            1.2.1 	แหล่ง​น้ํา​ผิว​ดิน ได้แก่ แม่นํ้า ลำ�คลอง หนอง บึง อ่าง​เก็บ​นํ้า ทะเลสาบ เมื่อ​แหล่งน​ ํ้า​

เหล่า​นี้​ได้​รับ​สาร​มลพิษ​มาก​เกิน​กว่า​ที่​จะ​ปรับ​สภาพ​คืน​สู่​ปกติ​ตาม​ธรรมชาติ​ได้ ก็​จะ​เกิด​การ​เน่า​เสีย​ใน​ที่สุด
แหล่งน​ ํ้าท​ ี่ม​ ีป​ ริมาณน​ ้อย​และเ​ป็นน​ ํ้าน​ ิ่ง เช่น หนอง บึง มีค​ วามส​ ามารถใ​นก​ ารร​ องรับน​ ํ้าเ​สียห​ รือ​ของ​เสียน​ ้อย​
กว่าแ​ หล่ง​นํ้าท​ ี่​มี​ปริมาณม​ าก​และ​ไหล​อยู่ต​ ลอด​เวลา เช่น แม่นํ้า เมื่อแ​ หล่ง​นํ้า​มีส​ ภาพ​เสื่อมโทรม​ลง นอกจาก​
สัตว์แ​ ละพ​ ืชน​ ํ้าไ​ม่ส​ ามารถ​ที่จ​ ะด​ ำ�รงช​ ีวิตอ​ ยู่ไ​ด้แ​ ล้ว ยัง​มีผ​ ลก​ระท​ บต​ ่อม​ นุษย์​อีก เช่น ทำ�ให้​ต้นทุน​ในก​ ารผ​ ลิต​
นํ้าป​ ระปาส​ ูงข​ ึ้น หรือ​อาจท​ ำ�ให้​ขาดแคลนน​ ํ้าดิบส​ ำ�หรับผ​ ลิตน​ ํ้า​ประปา หรือ​อาจ​เกิด​การ​เน่าเ​สียจ​ นไ​ม่ส​ ามารถ​
นำ�​มาผ​ ลิต​นํ้า​ประปาไ​ด้ นอกจากน​ ี้​ยังอ​ าจ​เป็น​แหล่ง​แพร่​เชื้อ​โรค เกิด​สภาวะท​ ี่​ไม่น​ ่าด​ ู ซึ่ง​ส่งผ​ ล​ต่อจ​ ิตใจ และ​
อาจ​ส่ง​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​การ​ใช้​สถาน​ที่พัก​ผ่อน​หย่อน​ใจ​หรือ​สถาน​ที่​ท่อง​เที่ยว​ได้ สำ�หรับ​คุณภาพ​นํ้า​ใน​แหล่ง​นํ้า​
ของ​ประเทศไทย​นั้น​  มี​ตั้งแต่​คุณภาพ​นํ้าดี​ถึง​ตํ่า​มาก โดย​พิจารณา​จาก​ค่า​ดี​โอ (dissolved oxygen, DO)
ค่า​บี​โอ​ดี (biochemical oxygen demand, BOD) และจ​ ำ�นวน​แบคทีเรีย เป็นด​ ัชนี​ชี้ว​ ัด

            1.2.2 	แหล่ง​น้ํา​ใต้ดิน นํ้า​ฝน​ที่​ชะล้าง​สิ่ง​สกปรก หรือ​ของ​เสียบน​ผิว​ดิน หรือ​ที่​ฝัง​อยู่​ใต้ดิน
หรือ​นํ้าเ​สีย​ที่ถ​ ูกป​ ล่อย​ออก​มาจ​ าก​แหล่ง​กำ�เนิด อาจ​ซึมล​ งส​ ู่แ​ หล่ง​นํ้าใ​ต้ดิน​ได้ ทำ�ให้​นํ้าใ​ต้ดิน​ถูกป​ น​เปื้อน​และ​
เสื่อมค​ ุณภาพล​ ง การป​ นเ​ปื้อนข​ องน​ ํ้าใ​ต้ดินน​ ี้อ​ าจแ​ พร่ก​ ระจายไ​ด้ก​ ว้างไ​กลจ​ นท​ ำ�ให้ต​ ้องส​ ูญเ​สียน​ ํ้าใ​ต้ดินเ​ป็น​
ปริมาณม​ หาศาลไ​ด้ โดยท​ ั่วไปน​ ํ้าใ​ต้ดินม​ ักจ​ ะม​ คี​ ุณภาพด​ ี เมื่อน​ ำ�​มาผ​ ลิตเ​ป็นน​ ํ้าป​ ระปาก​ ไ็​มต่​ ้องล​ งทุนห​ รือเ​สีย​
ค่าใ​ช้​จ่าย​มาก​นัก การส​ ูญเ​สียน​ ํ้า​ใต้ดิน​จากก​ ารป​ นเ​ปื้อน​ของ​นํ้าเ​สียจ​ ึงเ​ป็นการ​สูญ​เสียท​ ี่น​ ่า​เสียดายม​ าก
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83