Page 98 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 98
3-88 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การใชท้ ีด่ ินเพื่อส ร้างส นามก อล์ฟเปน็ การใชท้ ี่ดนิ อ ยา่ งฟ ุม่ เฟือย เพือ่ ต อบส นองต อ่ ค วามต อ้ งการข อง
คนก ลุม่ น อ้ ย นอกจากเปน็ การท �ำ ลายศ กั ยภาพข องท ีด่ นิ แ ลว้ ยงั ก อ่ ใหเ้ กดิ ผ ลกร ะท บต อ่ ท รพั ยากรน ํา้ ท ัง้ ในด า้ น
ปริมาณและคุณภาพ ตลอดจนเป็นแหล่งของสารเคมีที่ใช้สำ�หรับบำ�รุงห ญ้า ซึ่งจะแพร่กระจายแ ละตกค้างใน
สิ่งแ วดล้อมต ่อไป นอกจากนี้ การเปิดห น้าดินเพื่อน ำ�ไปขาย การทำ�เหมืองแ ร่ การเพาะเลี้ยงกุ้งในพ ื้นที่ดินมี
ศักยภาพส ูงส ำ�หรับก ารเพาะปลูก ก็เป็นตัวอย่างข องก ารใช้ที่ดินท ี่ไม่เหมาะส มเช่นกัน
5. การจ ดั การท รัพยากรดิน
การใช้ท รัพยากรด ินเพื่อก ารพัฒนาด้านต่างๆ นั้นม ีค วามจ ำ�เป็น แนวทางในการนำ�ทรัพยากรด ินม า
ใช้เพื่อการพ ัฒนาโดยให้เกิดผลเสียน ้อยที่สุดอ าจท ำ�ได้ดังนี้
5.1 การรักษาศักยภาพของทรัพยากรดิน โดยการควบคุมการใช้ที่ดินให้ตรงตามศักยภาพของดิน
ประเภทนั้นๆ ควบคุมป ้องกันการพ ังทลายข องห น้าด ินอ ย่างเข้มงวด โดยเฉพาะการใช้พื้นที่ท ี่ม ีค วามล าดเท
สูงในการเพาะปลูก และการตัดไม้ทำ�ลายป่า กำ�หนดการใช้ประโยชน์ที่ดินของประเทศให้ชัดเจน เพื่อเป็น
แนวทางก ารใช้ที่ดิน และล ดปัญหาความข ัดแย้งด้านก ารถือครองท ี่ดินข องป ระชาชน
5.2 การฟื้นฟูทรัพยากรดิน มีการสำ�รวจที่ดินที่เสื่อมโทรม ทั้งในส่วนของเอกชนและของรัฐ เพื่อ
ดำ�เนินการฟื้นฟูให้ดีขึ้นเพื่อการใช้ประโยชน์ที่ดินที่เหมาะสมต่อไป ทั้งนี้อาจจำ�เป็นต้องมีมาตรการทาง
กฎห มาย เพื่อใช้บ ังคับเจ้าของที่ดินให้ต ้องฟื้นฟูแ ละบำ�รุงร ักษาท ี่ดินหลังจากก ารใช้ประโยชน์ที่ดินน ั้นๆ
5.3 การพัฒนาการใช้ประโยชน์ท่ีดิน ศึกษาวิจัยปัญหาที่เกิดขึ้นจากทรัพยากรดิน และเผยแพร่
ประชาสัมพันธ์ ให้ป ระชาชนร ู้ค วามสำ�คัญข องท รัพยากรดิน ปัญหา สาเหตุ ผลกร ะทบ และแนวทางป ้องกัน
แก้ไขปัญหา รวมทั้งส ่งเสริมให้ป ระชาชนม ีส่วนร ่วมในการแก้ไขปัญหาท รัพยากรด ิน
หลังจากศึกษาเนื้อหาสาระเรื่องท ี่ 3.4.3 แล้ว โปรดป ฏิบัติกิจกรรม 3.4.3
ในแนวก ารศ ึกษาหน่วยที่ 3 ตอนที่ 3.4 เรื่องท ี่ 3.4.3