Page 94 - สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
P. 94

5-84 สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ

การ​จดั ​กจิ กรรมก​ าร​เรียนก​ ารส​ อน​อา่ นอ​ อก​เสียง

      กระทรวงศ​ ึกษาธิการ (2539) กล่าวถ​ ึงก​ าร​สอน​อ่านอ​ อกเ​สียง​ไว้ 5 ประการ ได้แก่
      1. 	 การส​ อน​ขัน้ ​พ้นื ฐ​ าน (Basic Steps of Teaching) มีข​ ั้น​ตอน​ดังต​ ่อไ​ป​นี้

           - 	 ครู​อ่านข​ ้อความ​ทั้งหมด 1 ครั้ง นักเรียน​ฟัง
           - 	 ครูอ​ ่าน​ทีล​ ะป​ ระโยค/นักเรียนท​ ั้งหมดอ​ ่าน​ตาม
           - 	 ครอ​ู า่ นท​ ล​ี ะป​ ระโยค/นกั เรยี นอ​ า่ นต​ ามทล​ี ะค​ น (อาจข​ า้ มข​ ัน้ ต​ อนน​ ี้ ถา้ น​ กั เรยี นม​ ค​ี วาม​
พร้อม​อยู่แ​ ล้ว)
           - 	 นักเรียน​อ่านค​ นละ​ประโยค​ต่อเ​นื่องก​ ันจ​ นจ​ บ
           - 	 นักเรียนฝ​ ึกอ​ ่านเ​อง
           - 	 สุ่ม​ให้น​ ักเรียน​อ่านห​ น้า​ชั้น
      2. 	 อ่าน​อย่าง​คล่องแคล่ว/ต่อเ​น่ือง (Reading for Fluency/Chain Reading) คือ​การ​อ่าน​ให้​
ต่อเ​นื่องก​ ันม​ ิใ​ห้​ขาดตอนเ​สมือน​เป็นค​ น​เดียวกันอ​ ่าน โดย​เรียก​หมายเลข​ลูกโซ่ (chain number) เช่น
ครูเ​รียก chain number one นักเรียนค​ นท​ ี่ 1, 11, 21, 31, 41.. จะเ​ตรียมพ​ ร้อมใ​นก​ ารอ​ ่านใ​ห้ต​ ่อเ​นื่อง​
กัน ถ้าส​ ะดุดห​ รือต​ ิดขัดท​ ี่ค​ นใ​ด ถือว่าโ​ซ่ข​ าด ต้องเ​ริ่มต​ ้นท​ ี่ค​ นแ​ รกใ​หม่ การฝ​ ึกอ​ ่านแ​ บบน​ ี้จ​ ะก​ ระตุ้นใ​ห​้
นักเรียนต​ ื่นต​ ัว ฝึกค​ วามร​ ับผ​ ิดช​ อบก​ ลุ่ม สนุกสนาน ละข​ ยันฝ​ ึกซ​ ้อมอ​ ่านม​ ากข​ ึ้น ครูส​ ามารถใ​ช้เ​ทคนิค​
นี้​ทบทวนห​ รือ​ทดสอบไ​ด้
      3. 	 อ่าน​และ​เงยห​ น้า (Read and Look up) คือก​ ิจกรรม​การ​ฝึกอ​ ่าน​ออก​เสียง​ให้​ผู้​อื่นฟ​ ัง​อย่าง​
เปน็ ธ​ รรมชาตมิ​ ากข​ ึน้ ด้วยก​ ารอ​ ่าน–จำ�​ประโยค - เงยห​ น้าข​ ึ้นพ​ ูด การฝ​ ึกเ​ชน่ น​ ีบ้​ อ่ ยๆ นกั เรียนจ​ ะส​ ามารถ​
ทำ�ได้อ​ ย่างต​ ่อเ​นื่อง เมื่อเ​ร็วข​ ึ้นจ​ นเ​ป็นธ​ รรมชาติจ​ ะอ​ ่านเ​หมือนน​ ักข​ ่าว คือใ​ช้ว​ ิธีเ​หลือบต​ าอ​ ่าน โดยม​ ีว​ ิธ​ี
การ​ฝึกด​ ังนี้
           - 	 ครู​แบ่ง​กลุ่ม​คำ�​หรือ​ประโยค​ให้​มี​ความ​ยาว​พอ​เหมาะ​กับ​ความ​สามารถ​ใน​การ​จำ�​ตาม​
วัยข​ องน​ ักเรียน อ่านใ​ห้น​ ักเรียน​ฟังเ​ป็น​วรรคๆ ให้​นักเรียนท​ ำ�​เครื่องหมาย​ไว้
           - 	 ครู​ให้​นักเรียน​ก้ม​ลงอ​ ่าน​และ​พยายามจ​ ำ�​วรรค​นั้น​ให้​ได้
           - 	 ครู​ให้​จังหวะ​ให้​นักเรียน​เงย​หน้า​ขึ้น​พูด​วรรค​นั้น แล้ว​รีบ​ก้ม​ลง​อ่าน​วรรค​ต่อ​ไป​โดย​
ไม่ต​ ้อง​รอค​ รูใ​ห้​จังหวะ เมื่อ​ได้ยินเ​สียงเ​คาะจ​ ังหวะอ​ ีกค​ รั้ง​หนึ่งห​ มายถ​ ึงว​ รรคต​ ่อๆไ​ป​ทุกค​ รั้ง (ครูค​ วร​
ก้ม​ลง​อ่านด​ ้วย เพื่อ​ที่​จะค​ วบคุมก​ ารเ​คาะ​จังหวะ​ให้​พอดีแ​ ละ​ต่อเ​นื่อง)
      4. 	 การอ​ ่าน​เร็ว (Speed Reading) เป็นการ​อ่านใ​ห้​เร็ว​ที่สุด​เท่าท​ ี่​จะ​เร็ว​ได้ โดยไ​ม่​ต้องค​ ำ�นึง​ถึง​
ความ​ถูกต​ ้องท​ ุกต​ ัว​อักษร แต่​ต้องอ​ ่านใ​ห้​ใกล้​เคียง​ที่สุด​และไ​ม่​โดดข​ ้ามค​ ำ� การอ​ ่าน​วิธีน​ ี้เ​พื่อ​ที่จ​ ะ​ฝึก​ให​้
นักเรียน​มี​ความ​คล่อง​ตัว​ใน​การ​ออก​เสียง​อย่าง​ไม่​เคอะเขิน และ​แก้ไข​ธรรมชาติ​ใน​การ​อ่าน ซึ่ง​มัก​จะ
อ่านแ​ บบ​สะกด​ที​ละค​ ำ�​ช้าๆ การฝ​ ึก​นี้​มีเ​ทคนิคง​ ่ายๆ คือ พยายาม​บังคับส​ ายตา​ให้อ​ ่าน​เร็ว​ต่อ​เนื่อง หรือ​
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99