Page 23 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิชาอาชีพ
P. 23

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับมัธยมศึกษา 11-13

น�ำสถานการณ์จรงิ มาจ�ำลองไว้ในห้องเรยี น โดยการกำ� หนดกฎ กตกิ า เงอื่ นไขส�ำหรับเกมนัน้  ๆ แลว้ ให้ผู้เรยี น
ไปเล่นเกมหรือกิจกรรมในสถานการณ์จ�ำลองนั้น

       การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ต้องจัดควบคู่การวัดและการประเมินผลตามภาระและช้ินงานที่
สอดคล้องกับตัวช้ีวัดแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้น้ีได้เสนอการวัดและประเมินผลครบทั้ง 3 ด้าน คือ
ด้านความรู้ ด้านทักษะ/กระบวนการ และด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม เน้นวิธีการวัดท่ีหลากหลาย
ตามสถานการณ์จริง การดูร่องรอยต่าง ๆ ควบคู่ไปกับการดูกระบวนการท�ำงานและผลผลิตของงาน โดย
ออกแบบการประเมินก่อนเรียน ระหว่างเรียน หลังเรียน และแบบทดสอบประจ�ำหน่วย พร้อมแบบบันทึก
และเกณฑ์การประเมิน เพ่ืออ�ำนวยความสะดวกให้ครูไว้พร้อม ทั้งนี้ครูอาจเพ่ิมเติมโดยการออกแบบการวัด
และประเมินด้วยมิติคุณภาพ (Rubrics)

       1.5 	ส่ือการสอน การจัดประสบการณ์การเรียนรู้จะประสบความส�ำเร็จได้ตามจุดมุ่งหมายของการ
จัดประสบการณ์การเรียนรู้ย่อมขึ้นอยู่กับองค์ประกอบท่ีส�ำคัญหลายประการ เครื่องมือที่จะช่วยให้ผู้สอน
สามารถถ่ายทอดความรู้ให้ผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน ได้แก่ สื่อการสอน ส่ือการสอนเป็นสื่อกลาง
ระหว่างผู้สอน และผู้เรียนในการถ่ายทอดเน้ือหาสาระ เราสามารถจ�ำแนกประเภทของสื่อการสอนได้มากมาย
หลายประเภท 1) แบ่งตามลกั ษณะและวิธีการใชเ้ ป็นสือ่ ประเภทใชเ้ คร่อื งฉาย สื่อประเภทไม่ใชเ้ ครอ่ื งฉายและ
สื่อประเภทเครื่องเสียง 2) แบ่งตามประสบการณ์การเรียนรู้ เป็นประสบการณ์ต่าง ๆ ประสบการณ์รอง ได้แก่
ประสบการณ์นาฏการหรือการแสดง การสาธิต การศึกษา นอกสถานท่ี นิทรรศการ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ การ
บันทึกเสียง วิทยุ ภาพน่ิง ทัศนสัญลักษณ์และวจนสัญลักษณ์ 3) แบ่งตามทรัพยากรการเรียนรู้เกี่ยวกับ คน
วัสดุ อาคารสถานที่ เครื่องมือและอุปกรณ์ และกิจกรรม และ 4) แบ่งตามลักษณะหลักของสื่อการสอน ได้แก่
สื่อโสตทัศน์ ส่ือมวลชนเพ่ือการศึกษา ส่ืออิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคมเพ่ือการศึกษา สื่อบุคคล และส่ือ
วิธีการ

       ส่ือการสอนไม่ว่าจะเป็นประเภทใดก็ตามไม่มีความสมบูรณ์ในตัวของมันเอง สื่อการสอนไม่สามารถ
ท�ำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ถ้าผู้สอนไม่เป็นผู้วางแผนในการเลือก การใช้ การผลิต หรือแม้แต่ประเมินส่ือ
อย่างเหมาะสม

       1.6 	สภาพแวดลอ้ มของการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ เป็นสง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัวผ้เู รียน และผูส้ อน เริม่
ต้ังแต่ตัวครู วัตถุส่ิงของ อาคารสถานที่ ห้องเรียน โต๊ะ หรือแม้แต่กฎเกณฑ์ของโรงเรียน หรือปฏิสัมพันธ์
ระหว่างผู้เรียนและผู้สอนล้วนจัดเป็นสภาพแวดล้อมทั้งสิ้น และเป็นสภาพแวดล้อมท่ีมีอิทธิพลทั้งทางบวก
และลบต่อผู้เรียนได้

       หากจะแบ่งประเภทของสภาพแวดล้อม เราสามารถแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท ในท่ีน้ีจะจ�ำแนก
ออกเป็น 4 ประเภท คือ

            1.6.1 	สภาพแวดล้อมทางกายภาพ เช่น อาคารเรียน ห้องเรียน การจัดแถวที่น่ัง อุณหภูมิ
แสงสว่าง ป้ายประกาศ เป็นต้น

            1.6.2 	สภาพแวดลอ้ มทางสงั คม เช่น สังคมในโรงเรียนหรือห้องเรียน การควบคุมดูแลผู้เรียน
เป็นต้น
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28