Page 21 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิชาอาชีพ
P. 21
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับมัธยมศึกษา 11-11
1.2.6 เป็นสาระส�ำคัญของเรื่องนั้น ๆ จริง
1.2.7 เป็นสาระการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับความต้องการของสังคม
1.3 กิจกรรมการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ เพ่ือให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้น้ัน การเลือกกิจกรรมการจัดประสบการณ์การเรียนรู้นับว่าเป็นตัวแปรท่ีส�ำคัญท่ีจะช่วย
ทำ� ให้การจัดประสบการณก์ ารเรียนรปู้ ระสบความสำ� เรจ็ กจิ กรรมการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้มอี ยูม่ ากมาย
หลากหลาย ในการพิจารณาเลือกใช้กิจกรรมน้ันผู้สอนต้องมีหลักการและทฤษฎีประกอบการพิจารณา
ตัดสินใจ การท่ีจะกล่าวถึงกิจกรรมท่ีหลากหลายนั้น หากผู้สอนพิจารณากระบวนการเป็นการสอนท้ังหมด
จะพบว่า ไม่ว่าผู้สอนจะใช้กิจกรรมอะไร การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ก็ยังจ�ำเป็นต้องดำ� เนินไปตามขั้นตอน
การสอน 3 ข้ัน คือ ขั้นน�ำเข้าสู่บทเรียน ข้ันสอน และข้ันสรุปบทเรียน
กิจกรรมการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สามารถแบ่งออกได้เป็นหลายกลุ่ม หลายประเภท ในท่ีน้ีขอ
แบง่ กิจกรรมการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรูอ้ อกเป็น 2 ประเภท คือ กจิ กรรมการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้
ที่ยึดผู้สอนเป็นศูนย์กลาง และกิจกรรมการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ียึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
1.3.1 กิจกรรมการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ยึดผู้สอนเป็นศูนย์กลาง กิจกรรมประเภทน้ี
เช่น การบรรยาย การสาธิต การถาม–ตอบ เป็นต้น ลักษณะส�ำคัญของกิจกรรมประเภทนี้ คือ ผู้สอนเป็น
ผู้ก�ำหนดเน้ือหา และควบคุมการเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นหลัก ผู้เรียนเป็นเพียงผู้รับเนื้อหาวิชา ตามล�ำดับ
ขั้นตอนท่ีผู้สอนวางแผนไว้
1.3.2 กิจกรรมการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ียึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง กิจกรรมประเภทน้ี
เช่น การอภิปรายการแสดงบทบาทสมมติ เกม การศึกษานอกสถานท่ี การทดลอง เป็นต้น ลักษณะส�ำคัญ
ของกิจกรรมเหล่าน้ี คือ ผู้สอนเป็นเพียงผู้อ�ำนวยการความสะดวกให้ค�ำแนะน�ำเม่ือจ�ำเป็น ผู้เรียนจะลงมือท�ำ
กิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตนเองตามความสามารถที่แตกต่างกัน
1.4 การก�ำหนดวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การก�ำหนดวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่
เหมาะสมจะส่งเสริมให้การถ่ายทอดเนื้อหา และการจัดกิจกรรมเป็นไปได้ตามสาระการเรียนรู้ และส่งผลให้
ผเู้ รยี นเกดิ ผลสมั ฤทธติ์ ามทก่ี ำ� หนดไว้ ในทน่ี จี้ งึ ไดน้ ำ� เสนอทฤษฎแี ละเทคนคิ วธิ กี ารจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้
ต่าง ๆ มาเป็นแนวทางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ระดับ
มัธยมศึกษา ดังน้ี (ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, 2557, ออนไลน์)
1.4.1 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน (Brain Base Learning: BBL) ท่ี
เป็นวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีอิงผลการวิจัยทางประสาทวิทยา ซึ่งได้เสนอแนะไว้ว่า ตามธรรมชาติ
นั้นสมองเรียนรู้ได้อย่างไร โดยได้กล่าวถึงโครงสร้างท่ีแท้จริงของสมองและการท�ำงานของสมองมนุษย์ท่ีมี
การแปรเปล่ียนไปตามขั้นของการพัฒนา ซึ่งสามารถน�ำมาใช้เป็นกรอบแนวคิดของการสร้างสรรค์การจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.4.2 การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรแู้ บบใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน (Problem Based Learning: PBL)
เปน็ วธิ กี ารจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรทู้ ใ่ี ชป้ ญั หาทเี่ กดิ ขนึ้ เปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ และเปน็ ตวั กระตนุ้ ใหเ้ กดิ กระบวนการ
เรียนรู้ โดยให้ผู้เรียนร่วมกันแก้ปัญหาภายใต้การแนะน�ำของผู้สอน ให้ผู้เรียนช่วยกันตั้งค�ำถามและช่วยกัน