Page 14 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 14
8-4 ศิลปะกบั สังคมไทย
ตอนที่ 8.1
ความสัมพันธร์ ะหว่างวรรณกรรม ศิลปะ และสงั คม
โปรดอา่ นหัวเรอ่ื ง แนวคิด และวตั ถุประสงคข์ องตอนที่ 8.1 แลว้ จึงศึกษารายละเอียดตอ่ ไป
หวั เรื่อง
8.1.1 วรรณกรรมในฐานะที่เป็นศิลปะ
8.1.2 ความสัมพันธร์ ะหว่างวรรณกรรมกบั สงั คม
แนวคดิ
1. วรรณกรรมเปน็ ศลิ ปะแขนงหนง่ึ ทแี่ สดงความงามออกมาผา่ นการใชภ้ าษาและจนิ ตนาการ
ของกวี โดยวรรณกรรมทไ่ี พเราะนน้ั ควรประกอบดว้ ยวรรณศลิ ป์ และการเลอื กสรรค�ำ ท่ี
เปย่ี มไปด้วยรสคำ�และรสความทด่ี ี
2. องคป์ ระกอบของวรรณศลิ ปม์ อี ยู่ 6 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ อารมณส์ ะเทอื นใจ จนิ ตนาการ
การแสดงออก ท่วงท�ำ นองหรือท่วงท่าทแี่ สดงออก กลวิธีในการแต่งและองค์ประกอบ
3. ก ารสร้างรสค�ำ ให้แกว่ รรณกรรมทสี่ ำ�คัญ เช่น การเลน่ เสียงสมั ผสั การซํ้าค�ำ (การเลน่
เสยี งค�ำ พอ้ ง) การเลน่ เสยี งค�ำ ซา้ํ การใชค้ �ำ ซา้ํ เปน็ กระสวน และการเลน่ กลบท สว่ นวธิ กี าร
สรา้ งรสความในวรรณกรรมทสี่ ำ�คญั เช่น อปุ มา อปุ ลกั ษณ์ บุคลาธิษฐาน และอธิพจน์
4. ค วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งวรรณกรรมกบั สงั คมทสี่ �ำ คญั ไดแ้ ก่ 1) วรรณกรรมเปน็ ภาพสะทอ้ น
ของสงั คม 2) สงั คมมอี ทิ ธพิ ลตอ่ วรรณกรรมหรอื ตอ่ กวนี กั เขยี น และ 3) วรรณกรรมหรอื
กวนี ักเขียนมอี ิทธพิ ลตอ่ สังคม
วตั ถุประสงค์
เมือ่ ศกึ ษาตอนท่ี 8.1 จบแล้ว นักศกึ ษาสามารถ
1. อธิบายวรรณกรรมในฐานะท่เี ป็นศิลปะได้
2. อธบิ ายความสัมพันธร์ ะหวา่ งวรรณกรรมกบั สังคมได้