Page 19 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 19

วรรณกรรมกับสงั คมไทย 8-9
            จากความในศลิ าจารกึ ขา้ งตน้ มกี ารเรยี งรอ้ ยค�ำ โดยมกี ารสง่ เสยี งสมั ผสั สระใหค้ ลอ้ งจองกนั
เช่น สวนดูแท้-แล้จึ่งแล่ง เข้าผู้ลัก-มักผู้ซ่อน ขี่ช้างมาหา-พาเมืองมาสู่ ทำ�ให้เกิดเสียงที่ไพเราะมากขึ้น
และเป็นการแสดงออกถึงความนิยมในการเรียงร้อยถ้อยคำ�ให้เกิดสัมผัสคล้องจองของคนไทยต้ังแต่สมัย
สุโขทัย และด้วยลักษณะความนิยมในเร่ืองของสัมผัสคล้องจองนี้เป็นส่ิงสำ�คัญที่ทำ�ให้เกิดคำ�ประพันธ์
รูปแบบตา่ งๆ ในสมยั หลงั ต่อมา
            ในสว่ นของค�ำ ประพนั ธป์ ระเภทโคลง กน็ ยิ มการเลน่ เสยี งสมั ผสั ทง้ั เสยี งสมั ผสั พยญั ชนะและ
เสียงสมั ผสั สระเชน่ กนั ดังทีป่ รากฏลักษณะการเล่นเสยี งสมั ผสั พยัญชนะในลลิ ติ พระลอตอนหน่ึงความวา่

    ลางลงิ ลงิ ลอดไม	้  	  ลางลงิ             (ลลิ ิตพระลอ. 2543: 63)
แลลูกลงิ ลงชงิ 	 	      	  ลูกไม้
ลงิ ลมไลล่ มตงิ 	 	     	  ลงิ โลด หนนี า
แลลูกลิงลางไหล	้ 	      	  ลอดเลี้ยวลางลิงฯ

            จากบทประพนั ธข์ า้ งตน้ กวไี ดเ้ รยี งรอ้ ยค�ำ ทมี่ เี สยี งพยญั ชนะ /ล/ จ�ำ นวนมาก ท�ำ ใหไ้ ดเ้ สยี ง
ทไี่ พเราะ และท�ำ ใหผ้ อู้ า่ นผฟู้ งั มองเหน็ ภาพของเหลา่ ลงิ ทก่ี �ำ ลงั วง่ิ เลน่ อยบู่ นตน้ ไมไ้ ดอ้ ยา่ งชดั เจน นอกจากน้ี
ยังเป็นการแสดงความสามารถของกวีในการสรรคำ�เพ่ือให้เกิดเสียงที่ไพเราะและก่อให้เกิดจินตภาพให้แก่
ผอู้ ่านผู้ฟงั ได้เปน็ อย่างดอี ีกดว้ ย

            สุนทรภู่เป็นกวีนักเขียนอีกท่านหนึ่งท่ีให้ความสำ�คัญในการเล่นเสียงสัมผัสทั้งเสียงสัมผัส
พยัญชนะและเสียงสัมผัสสระ ทำ�ให้งานประพันธ์ของสุนทรภู่มีความดีเด่นในเรื่องของความไพเราะของ
เสียงในบทประพนั ธ์ ดงั เชน่ ตอนหนึ่งในนิราศภเู ขาทองทสี่ ุนทรภกู่ ล่าวว่า

	 	 ดูนํ้าวิ่งกลง้ิ เช่ยี วเปน็ เกลียวกลอก		  กลบั กระฉอกฉาดฉัดฉวดั เฉวียน
บา้ งพลุ่งพลุ่งวุ้งวงเหมอื นกงเกวียน	 	       ดเู ปลย่ี นเปลยี่ นคว้างคว้างเป็นหวา่ งวน

                                                         (นริ าศภเู ขาทอง. 2518: 154)

            จากบทประพันธ์ข้างต้น สุนทรใช้ท้ังเสียงสัมผัสพยัญชนะและเสียงสัมผัสสระในการสร้าง
ความงามให้แก่บทประพันธ์ โดยเสยี งสัมผสั พยัญชนะมีอย่ใู นทุกวรรค เชน่ เกลยี วกลอก (กระ)ฉอกฉาด
ฉัดฉวัดเฉวียน กงเกวียน และหว่างวน เป็นต้น เช่นเดียวกับเสียงสัมผัสสระก็ปรากฏในทุกวรรคเช่นกัน
เชน่ เชยี่ ว-เกลียว ในวรรคแรก ฉดั -ฉวดั ในวรรคท่สี อง วง-กง ในวรรคทสี่ าม และคว้าง-หว่าง ในวรรค
ทสี่ ี่ เป็นต้น ท�ำ ใหบ้ ทประพนั ธด์ งั กลา่ วมีเสยี งทไี่ พเราะ ทัง้ ยังสามารถทำ�ให้ผู้อา่ นมองเห็นสภาพของสาย
น้าํ ที่เชีย่ วกรากและเปน็ นํ้าวนได้อยา่ งชัดเจน*

         *นกั ศกึ ษาสามารถศกึ ษาการวเิ คราะหส์ นุ ทรยี ภาพในค�ำ ประพนั ธบ์ ทดงั กลา่ วโดยละเอยี ดไดใ้ น สนุ ทรยี ภาพในภาษาไทย.
ของดวงมน จติ ร์จำ�นงค์. (2541). หนา้ 31-33.
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24