Page 18 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 18
8-8 ศลิ ปะกบั สังคมไทย
2. รสคำ�-รสความ
นอกจากวรรณศลิ ปแ์ ลว้ อกี สง่ิ หนง่ึ ทช่ี ว่ ยเสรมิ ใหว้ รรณกรรมไทยมคี วามงดงามไพเราะมากยง่ิ ขน้ึ
คอื วธิ กี ารทกี่ วผี เู้ ขยี นเลอื กใชถ้ อ้ ยคำ�อนั ไพเราะและสอื่ ความหมายไดอ้ ยา่ งชดั เจน พระวรวงศเ์ ธอ กรมหมน่ื
พิทยาลงกรณ ได้ทรงกล่าวไว้ในกวีวัจนะเรื่องสามกรุงว่าบทประพันธ์ที่ดีควรประกอบไปด้วยรสคำ�และ
รสความ ดงั ทที่ รงกล่าววา่
โคลงดดี ีด้วยรจ นานัย ไฉนนอ (สามกรงุ . 2518: 29)
ตอ้ งจติ ตดิ หฤทัย เทิดถ้วน
ไพเราะ รศค�ำ ไพ เราะรศ ความเอย
สองรศพจนล้วน พิทยลาํ้ จ�ำ รูญ
ในทนี่ ้ี ขอกลา่ วถงึ วธิ กี ารสรา้ งรสค�ำ -รสความทส่ี ำ�คญั ดังน้ี
2.1 รสคำ� เป็นการสร้างความงามให้แก่บทประพันธ์ โดยการสรรคำ�ที่มีเสียงอันไพเราะมา
เรียงรอ้ ยกนั ซึ่งจะทำ�ใหผ้ อู้ ่านเกิดความเพลดิ เพลินกบั เสยี งของค�ำ การสร้างความงามผ่านรสคำ�สามารถ
ท�ำ ได้หลายวธิ ีการ ท่ีส�ำ คัญ เชน่
2.1.1 การเล่นเสียงสัมผัส เป็นการสร้างความงามให้แก่บทประพันธ์โดยการนำ�คำ�ที่มีเสียง
คลอ้ งจองกนั มาเรยี งร้อยเพอื่ ให้เกดิ เสียงทีไ่ พเราะ การเล่นเสียงสัมผสั ในวรรณกรรมไทย อาจจ�ำ แนกเป็น
ประเภทยอ่ ยได้ 2 ประเภท คือ 1) สมั ผสั นอก คือ การส่งเสียงสัมผัสกันระหวา่ งค�ำ ประพนั ธใ์ นแตล่ ะวรรค
ซง่ึ เปน็ ขอ้ ก�ำ หนดทางฉนั ทลกั ษณข์ องค�ำ ประพนั ธข์ องไทยอยแู่ ลว้ และ 2) สมั ผสั ใน คอื การสง่ เสยี งสมั ผสั
ระหวา่ งค�ำ ประพนั ธใ์ นวรรคเดยี วกนั ซงึ่ เปน็ สว่ นส�ำ คญั ทชี่ ว่ ยเพมิ่ ความงามใหแ้ กบ่ ทประพนั ธ์ โดยลกั ษณะ
ของการเล่นเสยี งสมั ผัสในของวรรณกรรมไทยนนั้ มอี ยู่ 2 ลกั ษณะ คือ
1) การเล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะ คือ การเลือกคำ�ท่ีมีเสียงพยัญชนะเดียวกันมา
เรยี งร้อยต่อกนั เพือ่ ใหเ้ กิดความงาม
2) การเล่นเสียงสัมผัสสระ คือ การเลือกคำ�ท่ีมีเสียงสระและตัวสะกดมาตราเดียวกัน
มาเรยี งรอ้ ยตอ่ กนั เพือ่ ใหเ้ กดิ ความงาม
ท้ังการเล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะและการเล่นเสียงสัมผัสสระเป็นกลวิธีการสร้างความงาม
ให้แก่บทประพันธ์ท่ีกวีนักเขียนไทยนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในคำ�ประพันธ์รูปแบบต่างๆ ตั้งแต่
วรรณกรรมในสมยั สโุ ขทยั ดงั ความในศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามค�ำ แหงมหาราช ทป่ี รากฏการเลน่ เสยี งสมั ผสั สระ
หลายตอน เชน่ ในตอนทีก่ ล่าวว่า
...ไพร่ฟ้าลูกเจ้าลกู ขนุ ผแิ ลผ้ ดิ แผกแสกว้างกนั สวนดูแท้แล้จง่ึ แลง่ ความแกข่ า
ดว้ ยซอื่ บเ่ ขา้ ผลู้ กั มกั ผซู้ อ่ น เหน็ เขา้ ทา่ นบใ่ ครพ่ นี เหน็ สนี ทา่ นบใ่ ครเ่ ดอื ด คนใดขชี่ า้ งมาหาพาเมอื ง
มาสู่ ช่อยเหลือเฟ่อื กู.้ ..
(ศิลาจารกึ พ่อขนุ รามค�ำ แหงมหาราช. 2527: 14)